08 September 2012

ຖານຂໍ້ມູນຈາຣືກໃນໄທຍ ສາມາດອ່ານໄດ້ໃນທີ່ນີ້

ພຣະນາມຂອງສົມເດັດພຣະເຈົ້າອະນຸວົງ....

"ເຖິງ" ເປັນພາສາລາວ "ຖຶງ" ເປັນພາສາໃຜ ?

- "ໄປຮອດຈອດເຖິງ" ເປັນສຳນວນພາສາລາວ ທີ່ມີຄຳວ່າ "ຮອດ" ກັບ "ເຖິງ" ຢູ່ນຳກັນ, ຄຳວ່າເຖິງ ກັບຮອດ ແລະ ເຖິງນັ້ນມີຄວາມໝາຍດຽວກັບ ທັງສອງເປັນຄຳທີ່ສົມບູນໃນຕົວ ເວລາໃຊ້ຈະໃຊ້ "ຮອດເຖິງແລ້ວ" ກໍໄດ້ ຫຼືຈະໃຊ້ແຕ່ "ຮອດແລ້ວ" ຫຼື "ເຖິງແລ້ວ" ກະໄດ້ແຕ່  "ຮອດເຖິງ" ເຖິງວ່າ ເປັນຄຳປະສົມທີ່ສາມາດໃຊ້ປະສົມກັນໄດ້ແຕ່ບໍ່ນິຍົມໃຊ້ກົງຕົວດັ່ງນັ້ນ ມັກຈະຫາຄຳອື່ນມາປະສົມສະເໝີ ເພື່ອໃຫ້ "ຮອດເຖິງ" ມີສັນທະລັກສະນະສວຍງາມຂຶ້ນ ເຊັ່ນຄຳທີ່ມັກພົບທີ່ສຸດໃນກຸ່ມພາສາໄທລາວ, ຄື "ໄປຮອດຈອດເຖິງ, ມາຮອດມາເຖິງ" ຫຼືບາງທ້ອງຖິ່ນຈະວ່າ "ຈວບເຖິງ" ແຕ່ບໍ່ປາກົດເຫັນວ່າ "ຈວບຮອດ" ແບບນີ້ມັກຈະໃຊ້ໃນກຸ່ມ ພາສາລາວທຸກພາກ ທຸກເຜົ່າ ທັງໃນແລະນອກປະເທດ.

- ເຖິງ ເຊື່ອວ່າເປັນພາສາລາວແທ້ ຕາມຫຼັກຖານທາງສີລາຈາຣືກທີ່ມີອາຍຸ 500 ປີກັບມານີ້ເທົ່າທີ່ພົບ ແລ້ວ ເຫັນວ່າຄຳ ນີ້ປາກົດຕົວມາເຫິງນານທັງໃນ ແລະນອກປະເທດ,  ໃນຊີວິດວັດທະນະທຳຂອງຊົນ ຊາດທີ່ມີພັດທະນາມາຈາກແຫຼ່ງ ດຽວກັນນັ້ນ ຊົນເຜົ່າຕະກູນລາວ ທີ່ເວົ້າພາສາຕະກູນໄທລາວ ໃນດິນລາວທຸກໆເຜົ່າ ຄຳວ່າ "ຮອດ-ເຖິງ" ແມ່ນສື່ຄວາມໝາຍດຽວກັນໝົດ, ໃນກຸ່ມຊົນສ່ວນໃຫຍ່ໆໃນລາວ ທັງສາມພາາກໃຫຍ່ ຄື ພາສາລາວພາກເໜືອ, ພາກກາງ ແລະພາກໃຕ້ ກໍໃຊ້ ແລະສື່ຄວາມໝາຍດຽວກັນ ລວມຄົນເຊື່ອສາຍທີ່ເວົ້າພາສາວໃນປະເທດກຳປູເຈັຍ, ໃນພາກຕາ ເວັນອອກ, ຕາເວັນອອກສ່ຽງເໜືອຂອງໄທຍ, ລ້ານນາ,  ໄທໃຫຍ່ ໃນຣັດສານ, ໄທຂືນໄນຊຽງຕຸງ, ໄທລື້ໃນສິບສອງພັນນາ,  ໄທດຳ-ໄທແດງໃນສິບສອງຈຸໄທສາປາ ຫາກເຮົາສຶກສາເລິກອອກໄປກວ່ານັ້ນ ອາດຈະເຫັນວ່າຄົນທີ່ເວົ້າພາສາຕະກູນໄຕ ກະໄດນີ້ "ຮອດກັບເຖິງ" ເປັນຄຳລາວໃນກຸ່ມພາສາ ໄຕກະໄດ ຕະກູນໄທລາວທັງມວນ.

- ໃນກຸ່ມພາສາໄຕ-ກະໄດ ຕະກູນໄທລາວນັ້ນ ປັດຈຸບັນແຍກກັນຢູ່ເປັນປະເທດເອກະລາດ ມີ 2 ປະເທດ ຄື 1 ປະເທດລາວ, ປະເທດໄທຍ ເຫຼືອນັ້ນ ແມ່ນລວມຢູ່ກັບປະເທດຕ່າງໆ ທັງຈີນ, ພະມ້າ, ຫວຽດນາມ, ກຳປູເຈັຍ ແລະຮອດອິນເດັຍກະມີ ຄືລັດອັດສຳ,  ບັນດາປະຊາຊົນຄົນເຊື້ອສາຍໄທລາວ ທີ່ໄປຢູ່ກັບປະທດທີ່ຕ່າງພາສາ, ອັກສອນ ແລະວັດທະນະທຳ ແລະລະບອບການເມືອງເສດຖະກິດ ສັງຄົມນັ້ນ, ພາສາເວົ້າຂອງເຂົາຈະຕາຍລົງເປັນອັນດັບແຮກ, ບໍ່ເກີນ 3 ຊົ່ວອາຍຸຄົນ ແລະກັບປ່ຽນມາໃຊ້ພາສາຫຼັກ ອັນເປັນພາສາທາງການທີ່ສາມາດໃຊ້ໃນຊີວິດປະຈຳວັນທີ່ດີກວ່າ.

- ບັນດາຕະກູນໄທລາວທີ່ແຍກຕັ້ງປະເທດຂອງຕົນໄດ້ສົມບູນ ແລະໃຊ້ພາສາ ແລະວັດທະນະທຳ ຂອງຕົນໄດ້ສົມບູນ ແມ່ນປະເທດລາວ ແລະປະເທດໄທຍ.

- ກ່ຽວກັບຄຳວ່າ "ເຖິງ" ປະເທດໄທຍໃຊ້ "ຖຶງ"(ถึง) ເຮົາມາສຶກສານຳກັນວ່າ "ເຖິງ" ທີ່ລາວເຮົາໃຊ້ກັບ "ຖຶງ" ທີ່ໄທຍໃຊ້ ອັນໃດຖືກຕ້ອງ ແລະເປັນຄຳພາສາໄທລາວໂດຍແທ້.

- "ເຖິງ" ນີ້ດັ່ງທີ່ເຮົາສຶກສາເບິ່ງແລ້ວ ເປັນພາລາວທັງມວນ ເປັນພາສາລາວ ທີ່ສືບທອດມາຈາກພາ ສາໄທລາວຕັ້ງແຕ່ບູຮານະການ ເຫັນໄດ້ຈາກຄຳເວົ້າຂອງບັນດາຊົນເຜົ່າຕະກູນໄທລາວທັງໃນ ແລະນອກປະເທດ.

- ຜູ້ຂຽນ ຊອກເບິ່ງສີລາຈາຣືກພາສາລາວ ໃນໝວດອັກສອນລາວເດີມ(ລາວ), ອັກສອນລາວບູຮານ(ທຳ) ຈະພົບກັບຄຳວ່າ "ເຖິງ" ແລະ "ຮອດ" ນີ້ປະກົດຕົວສະເໝີ ເຊັ່ນວ່າ "ຈວບເຖິງ" ນີ້ມັກຈະພົບໃນ ສີລາຈາຣືກ ທີ່ກ່ຽວກັບການປັກປັນ ເຂດແດນ, ບ້ານ, ວັດ, ເມືອງ ສະເໝີ, ບໍ່ສະເພາະແຕ່ໃນສີລາຈາລືກເທົ່ານັ້ນ ໃນວັນນະຄະດີອັກສອນລາວບູຮານ ແລະອັກສອນລາວເດີມ ກໍມັກຈະເຫັນສະເໝີ,  ເມື່ອຜູ້ຂຽນຄົ້ນຄວ້າໃນຈາລືກອັກສອນລາວທັງສອງແບບເຫັນແຕ່ ເຖິງ ບໍ່ເຫັນຖຶງ, ກໍຄົ້ນຄວ້າໃນຈາລືກ ອັກສອນລ້ານນາກໍເປັນຄຳວ່າ "ເຖິງ" ແລະຮອດ "ຮອດ" ນີ້ໃຊ້ແທນກັນຢູ່ສະເໝີ, ຕໍ່ໄປກໍ ໄປຊອກໃນໝວດອັກສອນສຸໂຂໄທ ທີ່ຖືວ່າເປັນອັກສອນທີ່ໂດດເດັ່ນ ແລະໄທຍຖືເປັນກົກເຫງົ້າພາສາ ແລະອັກສອນ ໄທຍປັດຈຸບັນນັ້ນ ນັບແຕ່ສີລາຈາລືກອັກສອນຂຸນຣາມຄຳແຫງມາຮອດ ສີລາຈາລືກສະໄໝພະຍາລິໄທ ກັບເຫັນວ່າ ໃນ 4 ຫຼັກທີ່ໃຊ້ສຶກສາ ບໍ່ປາກົດເຫັນວ່າ "ຖຶງ" ຈະປາກົດເຫັນຄຳວ່າ "ຮອດ" ແລະ "ເຖິງ"

ຫຼັກຖານ
เกลออย่ากินเข้าเพราเลย เกลออดเข้าเพรา ให้เถิงรุ่ง. (ไตรภูมิ); มื้อ

โบราณเขียนเป็น อรญญิก หรือ อไรญิก ก็มี เช่น ในกลางอรญญิก, เมืองสุโขทัยนี้มีอไรญิก. (จารึกสยาม), (โบ) วัดอรัญญิก เช่น ไปสูดญัดกฐินเถิงอไรญิกพู้น. (จารึกสยาม). ว. ที่เกี่ยวกับป่า เช่น อรัญญิกาวาส. (ป. อาร?ฺ??ก ว่า เกี่ยวกับป่า).

ໝາຍເຫດ: ການຂຽນ ໄທ ກັບ ໄທຍ ໃນເອກະສານນີ້ ມີຄວາມໝາຍຕ່າງກັນດັ່ງນີ້
ກ. ຂຽນໄທຍ ໝາຍເຖິງຄົນໄທຍ ໃນປະເທດໄທຍ.
ຂ. ໄທ ໝາຍເຖິງຄົນໄທລາວທັງມວນ ທີ່ຢຸ່ໃນດິນລາວ ແລະນອກດິນລາວໃນປັດຈຸບັນ.
ຄ. ໄທລາວ ໝາຍເຖິງຄົນລາວທຸກເຜົ່າ.
ງ. ໄຕ-ໄທ ໝາຍເຖິງກຸ່ມຄົນໄທລາວ.

ຄົ້ນຄວ້າໂດຍ: ພຣະຄຣຸເນືອງພິລັກ ໂຊຕິທອນ

07 September 2012

ຈາຣືກພຣະທາດບ້ານຮ້າງນ້າແຮ່

ຈາຣືກພຣະທາດບ້ານຮ້າງນ້າແຮ່
ອັກສອນທີ່ຈາຣືກ ລາວ
ສັກຣາຊພຸດທະສັກກຣາຊ 1893
ພາສາ ລາວ
ດ້ານ/ບັນທັດ ຈຳນວນດ້ານ 1 ດ້ານ ,u 12 ບັນທັດ
ວັດຖຸຈາຣຶກ -
ລັກສະນະວັດຖູ ຮູບໃບສີມາ
ຂະໜາດວັດຖຸ ກວ້າງ 24 ຊມ, ສູງ 79 ຊມ
ບັນຊີ/ທະບຽນວັດຖຸ 1. ກອງຫໍສະໝົດແຫ່ງຊາດ(ໄທຍ) ກຳນົດເປັນ "ສນ,4"
2. ໃນໜັງສື ສີລາຈາຣືກອີສານສະໄໝໄທຍ-ລາວ ກຳນົດເປັນ "ຈາຣືກພຣະທາດຮ້ານບ້ານແຮ່"
ພົບເມື່ອ ບໍ່ປາກົດຫຼັກຖານ.
ສະຖານທີ່ພົບ ສະຖານນີອະນາໄມບ້ານແຮ່(ວັດພຣະທາດສີບຸນເຮືອງ) ຕຳບົນແຮ່ ອຳເພີພັງໂຄນ ຈັງຫວັດສາກົນນະຄອນ.
ຜຸ້ພົບ ອາຈານສຸຣັຕນ໌ ວຣາງຣັຕນ໌ ແລະຄະນະນັກສຶກສາ ຈາກວິທະຍາໄລຄຣູສາກົນນະຄອນ.
ປັດຈຸບັນຢູ່ທີ່ ສະຖານນີອະນາໄມບ້ານແຮ່(ວັດພຣະທາດສີບຸນເຮືອງ) ຕຳບົນແຮ່ ອຳເພີພັງໂຄນ ຈັງຫວັດສາກົນນະຄອນ.
ພິມເຜີຍແຜ່ ສີລາຈາຣຶກອີສານສະໄໝໄທຍ-ລາວ (ກຸງເທບ ຯ ຄຸນພິນອັກສອນກິຈ, 2530) 225-227.
ປະວັດ ສີລາຈາຣືກຫຼັກນີ້ເພິ່ງຄົ້ນພົບເມື່ອອາຈານສຸຣັຕນ໌ ວຣາງຣັຕນ໌ ແຫ່ງວິທະຍາໄລຄຣູສາກົນນະຄອນ ພານັກສຶກສາໄປສຶກສານອກສະຖານທີ່ ພາຍຫຼັງໄດ້ພາອາຈານທະວັຊ ປຸນໂນທັກ ໄປສຶກສາເມື່ອ ເດືອນເມສາ ພ.ສ 2527 ພົບສະເພາະທ່ອນບົນແລະທ່ອນລ່າງ ເດືອນສຶງຫາ 2527 ອາຈານທະວັຊ ປູນໂນທົກ ໄດ້ນຳພາບນິ້ງຈາຣືກຫຼັກນີ້ມາສະເໜີ ໃນທີ່ປະຊຸມນານາຊາດເຣື່ອງ ໄທຍສຶກສາ ທີ່ກຸງເທບ, ສາດຕຣາຈານ ດຣ. ປະເສີດ ນະ ນະຄອນ ໄດ້ສະແດງຄວາມເຫັນ ແລະໃຫ້ຄວາມສົນໃຈ ແກ່ຈາຣຶກຫຼັກນີ້ມາກ ອາຈານທະວັຊ ປູນໂນທົກ ຈິ່ງໄດ້ໃຫ້ນັກສຶກສາຜູ້ຊ່ວຍວິໄຈ ໄປຄົ້ນຫາສ່ວນຂອງຈາຣືກທີ່ຍັງຫຼົງເຫຼືອອີກຄັ້ງໜຶ່ງ ແລະພົບສ່ວນທີ່ຂາດໄປໄດ້ຄົບສົມບູນ.
ເນື້ອໃນໂດຍສັງເຂບ ຂໍ້ຄວາມຂາຣືກກ່າວເຖິງການອຸທິດທີ່ດິນໃຫ້ແກ່ວັດຂອງເຈົ້ານາຍຣະດັບພຣະຍາ ແລະແສນ ເຊິ່ງ ເປັນຫົວໜ້າຊຸມຊົນໃນຣະແວກນັ້ນ.
ຜູ້ສ້າງ ບໍ່ປາກົດຫຼັກຖານ.
ການກຳນົດອາຍຸ ຂໍ້ຄວາມຈາຣືກບັນທັດທີ 4 ຣະບຸ ຈ.ສ 712 ຄື ພ.ສ 1893 ກົງກັບປີທີ່ພຣະເຈົ້າອູ່ທອງຊົງສະຖາປານາ ກຸງສີອະຍຸທະຍາ ແລະກ່ອນພຣະເຈົ້າຟ້າງຸ່ມຄອງນະຄອນຫຼວງພຣະບາງ(ຊຽງທອງ) ພສ. 1896 ເຖິງ 3 ປີ, ຖ້າສັກກາຣາຊທີ່ປາກົດໃນຈາຣືກຖືກຕ້ອງ ຈາຣືກຫຼັກນີ້ຈະເປັນຈາຣືກອັກສອນໄທຍ ນ້ອຍ(ລາວ) ທີ່ມີອາຍຸເກົ່າທີ່ສຸດທີ່ພົບຂະນະນີ້ ແລະເປັນຮູບແບບອັກສອນໄທຍນ້ອຍ(ລາວ)ທີ່ໄດ້ ພັດທະນາໄປແລ້ວ ຄືມີຮູບແບບສະເພາະຕົວຫ່າງຈາກອັກສອນໄທຍສຸໂຂໄທຍສະໄໝພຣະເຈົ້າລິໄທ ທີ່ຮ່ວມສະໄໝດຽວກັນ ຈາກການສຶກສາຮູບແບບຂອງຕົວອັກສອນໃນສີລາຈາຣືກພຣະທາດຮ້າງ ບ້ານແຮ່ນີ້ ໜ້າຈະຕ້ອງທົບທວນທິດສະດີທີ່ວ່າອັກສອນໄທຍນ້ອຍໄດ້ແບບຢ່າງໄປຈາກຕົວ ອັກສອນໄທຍສະກຸນພໍ່ຂຸນຣາມຄຳແຫງ ຖ້າປາກົດຫຼັກຖານອື່ນໆສະໜັບສະໜູນອີກສ່ວນໜຶ່ງ.
ຂໍ້ມຼນອ້າງອີງ ຮຽບຮຽງຂໍ້ມູນໂດຍ : ນະວະພັນ ພັທຣະມູນ, ໂຄງການຖານຂໍ້ມູນຈາຣືກໃນປະເທດໄທ, ສມສ, 2549, ຈາກ ທະວັຊ ປຸນໂນທົກ, "ຈາຣືກພຣະທາດຮ້າງບ້ານແຮ່" ໃນສີລາຈາຣືກອີສານສະໄໝ-ລາວ, ສຶກສາ ທາງດ້ານອັກຂຣະວິທະຍາ ແລະປະວັດສາດອີສານ(ກຸງເທບ ຯ ຄຸນພິນອັກສອນກິຈ, 2530) 225-227.
ພາບປະກອບ ພາບສຳເນົາຈາຣືກຈາກ : ພາກວິຊາພາສາຕາເວັນອອກ ຄະນະບູຮານຄະດີ ມະຫາວິທະຍາໄລ ສີລປະກອນ, 2545(ເລກ ທະບຽນ CD; INS-TH-14, ໄຟນ໌; Sn_0400_c)
ເທັກ ตำบลแร่, อำเภอพังโคน, แสน, วงดวงชาตา

ອ້າງອີງ 
ອັກສອນສະໄໝດຽວກັນ
ເກັບກຳໄວ້ ໂດຍ : ພອຈ.ເນືອງພິລັກ ໂຊຕີທອນ

02 September 2012

แกะรอยศิลาจารึกลาว"วัดวิชุน" เปิดพรมแดนวิชาการ ไทย-ลาว

มีการตีพิมพ์ข่าวการพบศิลาจารึกที่เชื่อว่าเก่าแก่ที่สุดหลักหนึ่ง รศ.ศรีศักร วัลลิโภดม พบจากบทความคอลัมน์มรดกลาว ในนิตยสารท่องเที่ยวเมืองลาว ฉบับที่ 26 เดือนกรกฎาคม-กันยายน ค.ศ.2005 นิตยสารประจำสายการบินลาว ซึ่งบุนมี เทบสีเมือง ผู้เขียนบทความดังกล่าวว่า *ศิลาจารึกดังกล่าวสร้างขึ้นเมื่อ ร.ศ.532 ตรงกับ ค.ศ.1713* จึงนำไปสู่คำถามที่ว่า ศิลาจารึกดังกล่าวสร้างขึ้นใน ร.ศ.532 จริงหรือไม่ เพราะถ้าเป็นเช่นนั้นจริง เท่ากับศิลาจารึกหลักดังกล่าวเก่ากว่าศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง 113 ปี เพื่อแสวงหาคำตอบดังกล่าว สมาคมไทย-ลาวเพื่อมิตรภาพ และคณะนักวิชาการด้านโบราณคดีไทย ได้เดินทางไปเยือนหลวงพระบางเมื่อต้นเดือนที่ผ่านมา ไปยังวัดวิชุน ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานของศิลาจารึกหลักดังกล่าว พร้อมกับร่วมพบปะ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับคณะกรรมการสมาคมลาว-ไทยเพื่อมิตรภาพ และนักวิชาการลาว ทั้งนี้ วัดวิชุน หรือ วัดวิชุนนะลาด ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองหลวงพระบาง ถนนวิชุนราช สร้างขึ้นเมื่อ จ.ศ.874 หรือ ค.ศ.1512 (พ.ศ.2055) โดยพระเจ้าวิชุนราช ซึ่งเป็นกษัตริย์แผ่นดินล้านช้างเมื่อ จ.ศ.863 เพื่อเป็นที่ประดิษฐานของพระบาง ซึ่งอาราธนามาจากเมืองเวียงคำ สิมหลังเก่านั้นสร้างด้วยไม้ทั้งหลัง รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบลาวเดิมสมัยอาณาจักรลาวล้านช้างยุคต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 14 มีขนาดยาว 36 เมตร กว้าง 18 เมตร ด้านตรงข้ามของสิมเป็น "พระธาตุหมากโม" ทรงโอคว่ำคล้ายแตงโมผ่าครึ่ง พระนางพันตินะเชียงเบด พระอัครมเหสีของพระเจ้าวิชุนราชโปรดฯ ให้สร้างขึ้นหลังจากสร้างวัดแล้ว 11 ปี ถือเป็นพระธาตุสำคัญองค์หนึ่งเช่นเดียวกับพระธาตุหลวงในเวียงจัน พระธาตุพนมในประเทศไทย พระธาตุชเวดากองในย่างกุ้ง พระธาตุพุทธคยาในอินเดีย ฯลฯ ค.ศ.1888 โจรฮ่อเข้ามารื้อทำลายเพื่อนำเอาของมีค่าที่ประดับอยู่บนยอดช่อฟ้าของสิมและ ยอดพระธาตุหมากโม ซึ่งเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ในบริเวณวัด หลังจากนั้น พระเจ้าสักรินทร์ ซึ่งเป็นพระราชบิดาของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ โปรดฯ ให้บูรณะปฏิสังขรณ์ขึ้นใหม่ตามแบบเดิมในปี ค.ศ.1894 เมื่อแล้วเสร็จนักปราชญ์ลาวและฝรั่งเศสได้ตกลงกันให้รวบรวมเอาโบราณวัตถุและ ศิลาจารึกตามบริเวณวัดร้าง วัดเก่าแก่ทั้งหลายที่ไม่ได้รับการเก็บรักษาที่ดีมาเก็บไว้ที่สิมวัดวิชุน เพื่อป้องกันการถูกทำลายหรือสูญหาย ในรัชสมัยของเจ้ามหาชีวิตศรีสว่างวงศ์ยังมีการปฎิสังขรณ์อีกครั้ง ครั้งนี้พบโบราณวัตถุมากมาย เช่น เจดีย์ทองคำ พระพุทธรูปหล่อสำริด พระพุทธรูปทองคำ พระพุทธรูปเงิน พระพุทธรูปที่แกะสลักจากแก้ว เช่นเดียวกับพระแก้วมรกต ฯลฯ ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ในพระราชวังหลวงพระบาง หรือพิพิธภัณฑ์เจ้ามหาชีวิต ทุกวันนี้วัดวิชุนเป็นอีกวัดหนึ่ง ที่นักท่องเที่ยวจะเข้ามาเยี่ยมชม สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด นอกเหนือจากวัดเชียงทอง สัญลักษณ์ของเมืองหลวงพระบาง โดยเสียค่าตั๋วคนละ 10,000 กีบ หรือประมาณ 40 บาท ด้านหน้าสิมจึงมีของที่ระลึกไว้จำหน่าย เช่น โปสการ์ด ตุ๊กตาปู่เยอย่าเยอ ฯลฯ ภายในสิมวัดวิชุนมีศิลาจารึกประดิษฐานอยู่ทั้งหมด 6 หลัก เป็นจารึกอักษรลาว 4 หลัก อักษรธรรม 2 หลัก ทั้งหมดตั้งอยู่บนแท่นไม้เรียงกันเป็นแถวทางด้านซ้ายของพระประธาน บุนมี นักประวัติศาสตร์และโบราณคดีลาว เจ้าของบทความชิ้นดังกล่าว เล่าถึงที่มาของการพบศิลาจารึกหลักนี้ว่า เมื่อสงกรานต์ ค.ศ.2001 ได้มาเยี่ยมลูกสาวและลูกเขยซึ่งอยู่ที่บ้านวิชุน เมื่อมีโอกาสจึงเข้าวัดทำบุญ และได้พบศิลาจารึกดังกล่าว "ปีแรกที่มาได้ถ่ายรูปกลับไปศึกษา เพราะอ่านไม่ออก ผมเข้าห้องสมุดไปค้นคว้า ปี 2002 มาใหม่แล้วเขียนรายงานให้กรมพิพิธภัณฑ์และวัตถุโบราณทราบ ตอนหลังผมมาศึกษาอีก แต่ไม่แน่ใจเรื่องตัวเลข เพราะอย่างเลข 2 ของลาว หางจะชี้ขึ้น แต่ในศิลาจารึกหางชี้ลง จนได้มาเห็นจารึกไทยสมัยอยุธยา เลข 2 หางเป็นแบบนี้จึงสรุปได้" บุนมีเล่าต่อไปว่า จารึกหลักนี้พบที่ไหนไม่มีใครทราบ เพราะเมื่อครั้งที่ขอมเข้ามาตีได้เผาทำลายหมด ภายหลังเมื่อมีการปฏิสังขรณ์วัดนี้แล้ว ฝรั่งเศสได้ให้รวบรวมศิลาจารึกจากวัดต่างๆ มาเก็บรักษาไว้ที่วัดนี้ ซึ่งผู้เฒ่าผู้แก่ที่เคยอยู่ที่นี่มา 60 ปี ก็ว่าตั้งแต่มาอยู่ก็เห็นศิลาจารึกนี้แล้ว *ปัจจุบันแม้ว่ากรมพิพิธภัณฑ์และวัตถุโบราณ ซึ่งเทียบเท่ากับกรมศิลปากรของไทยได้มาศึกษาศิลาจารึกหลักนี้ และขึ้นทะเบียนไว้แล้ว เพื่อไม่ให้หาย แต่ไม่เกี่ยวกับการอ่าน เพราะอ่านก็ไม่เข้าใจ จึงไม่ค่อยมีคนสนใจ* นอกเหนือจากความเป็นหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเศษเสี้ยวหนึ่งของ ประวัติศาสตร์ลาวแล้ว ศิลาจารึกหลักดังกล่าวยังช่วยจุดประกายให้นักวิชาการทั้งไทยและลาวได้หัน หน้าเข้ามาศึกษา แลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน บุนมี ซึ่งสนใจค้นคว้าเอกสารที่ว่าด้วยเรื่องราวของกลุ่มชาติพันธุ์ในดินแดนแถบนี้ ไม่ว่าจะจากใบลาน จากศิลาจารึก หรือหนังสือตามห้องสมุดในต่างประเทศ เช่น ที่ฮานอย ซึ่งมีห้องสมุดใหญ่ถึง 2 แห่ง สำหรับเก็บเอกสารโบราณๆ ไว้มากมาย เล่าว่า "การอ่านประวัติศาสตร์ต้องนึกถึงศูนย์กลางของเรื่องว่าคืออะไร ต้องเล็งจุดนั้น ผมเองบางทีอ่านแล้วก็ปวดหัวเหมือนกัน แต่เฮาก็ต้องดูว่าได้ความรู้อะไรจากมันในแง่ประวัติศาสตร์ หรือศิลปะ โบราณคดี อย่าแต่คิดว่าเรื่องของเทวดาเอาน้ำเต้าปุงมาให้ นี่ไม่มีหรอก เพราะนี่เป็นกุศโลบายเอาเทพนิยายมาเขียนเพื่อให้มีความศักดิ์สิทธิ์" ตำนานเรื่องขุนบรม ซึ่งฝ่ายลาวเชื่อว่าเกิดขึ้นในสมัยพระเจ้าวิชุนราชจึงมีขึ้น เป็นกุศโลบายเพื่อให้เกิดความสามัคคีในสมัยนั้นซึ่งเป็นช่วงปลดปล่อยทาส บุนมีเล่าต่อไปว่า ในลาวมีนักวิชาการที่สนใจศึกษาเรื่องประวัติศาสตร์เหล่านี้มากเหมือนกัน เพียงแต่ยังไม่มีการรวมกลุ่มกันเป็นสมาคม ใครไปศึกษาเอกสารที่ไหนกลับมาจะมีการบันทึกไว้ ทำให้ผู้อื่นได้รับความรู้นั้นไปด้วย และใช้ในการต่อยอด ตีความเพื่อความเข้าใจต่อไป "เอกสารของฝรั่งเศสที่ได้จากหอสมุดในเมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม บันทึกไว้ตามคำบอกเล่าของพ่อค้าจีนว่า ได้มาค้าขายที่อาณาจักรฟูเลียว (ฟู คือ เมือง, เลียว คือ ลาว) หรือเมืองวันตัน คือเวียงจัน เมื่อ ค.ศ.705-706 ได้บรรยายว่า อาณาจักรฟูเลียวกว้างใหญ่ ทิศเหนือติดหนองแส ทิศใต้ติดฟูนัน ศิลาจารึกบางหลักว่า ค.ศ.431 เวลานั้นอาณาจักรฟูเลียวมีอักษรใช้แล้ว จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 มีศิลาจารึกเป็นอักษรลาว อาณาจักรศรีโคตรบูรครองความเป็นอาณาจักรมายาวนานจนถึงศตวรรษที่ 17 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 บุกรุกเข้ามาจึงเสียเอกราช จึงมั่นใจว่าพวกเฮาเป็นเจ้าของที่นี่ บ่ได้มาจากทางเหนือ" บุนมี กล่าวอย่างหนักแน่น "ผมตั้งข้อสังเกตว่าคนทางเหนือที่มา อย่าง พวกไทดำ ไทแดง ผู้ไท เชียงใหม่ มาจากอาณาจักรไทย-ลาว การออกเสียงแตกต่างกัน อย่าง ตัว พ เพิ่นว่า ป เฮาว่า "พ่อแม่" เพิ่นว่า "ป้อแม่" เฮาว่า "สิบสองพันนา" เพิ่นว่า "สิบสองปันนา" ภาษามันแตกต่างกัน ลาวอีสาน ลาวภาคกลางหรือเวียงจันพูดเหมือนกัน ล้านช้างก็พูดเหมือนกัน เรียกพ่อเรียกแม่เหมือนกัน ประเพณีการฝังศพก็เหมือนกัน" ขณะที่ รศ.ศรีศักร นักวิชาการมูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ ให้ความเห็นว่า การเดินทางมาวัดวิชุนครั้งนี้ไม่ได้สนใจว่าศิลาจารึกลาวจะเป็นของเก่าหรือ ของใหม่ แต่ข้อความข้างในนั้นให้ความหมายมากกว่าเพราะบอกเล่าถึงสิ่งที่เกิดขึ้น ที่สำคัญคือ การศึกษาศิลาจารึกนี้เป็นการศึกษาประวัติศาสตร์ของลาวโดยลาวเอง ไม่ได้เดินตามฝรั่ง ส่วนเรื่องจุลศักราชจริงหรือไม่ ผู้เชี่ยวชาญด้านจารึกต้องมาคุยกัน อีกประการคือ เราไม่ทราบที่มาของศิลาจารึก ต้องสำรวจรอบๆ หลวงพระบางว่ามีแหล่งโบราณสถานใดที่มีอายุราวต้นพุทธศตวรรษที่ 18 คือประมาณ 1,700 ปีก่อน "ไทย-ลาว เป็นตระกูลภาษาเดียวกันในบรรดากลุ่มชาติพันธุ์ ซึ่งเป็นมอญ เขมร หรือตะเลง ปรากฏในภูมิภาคที่เป็นสุวรรณภูมิ ต่างก็สร้างบ้านแปงเมืองมาด้วยกัน ท่านบุนมีมองว่า กลุ่มที่อยู่ตรงกลางแต่เดิมคือ มอญ-เขมร กลุ่มที่เคลื่อนเข้ามาคือ ไทย-ลาว ลาว-ไทย เข้ามาและมาพบหลักฐานอันหนึ่งคือ "อาณาจักรศรีโคตรบูร" ถัดออกไปเป็นกลุ่ม "ฟูนัน" ที่อยู่ริมทะเล และถัดมาเป็นเขมร ความเห็นตรงกันที่ว่ากลุ่มไทย-ลาว ลาว-ไทยเข้ามาทางอีสาน มาตั้งเป็นอาณาจักรที่เรียกว่า "ศรีโคตรบูร ตำนานอุรังคธาตุก็สร้างขึ้นในยุคนี้ "พุทธศาสนาของหลวงพระบางไม่ได้มาจากสุโขทัยหรือล้านนา แต่มาจากศรีโคตรบูรเก่า ซึ่งอาจจะเป็นคนไทย-ลาวที่เข้ามาเมื่อแรกๆ คนเหล่านี้นับถือพุทธศาสนา ซึ่งหลักฐานของพุทธศาสนาที่สำคัญก็ยังอยู่ที่เวียงจันทน์ คือพระพุทธรูปหินสลักที่วังช้าง เป็นปางเทศนา ซึ่งเราไม่พบที่ประเทศไทย และเห็นได้ชัดว่าเป็นฝีมือคนพื้นเมือง เป็นการยืนยันถึงความเป็นพุทธเถรวาท และเก่ากว่าเขมร ส่วนหลวงพระบางเป็นเขตเศรษฐกิจทางชายแดนของเวียงจันทน์ ความเจริญของหลวงพระบางมาจากเวียงจันทน์ สมัยพระเจ้าวิชุนราชสำคัญมาก พบศิลปะคล้ายอู่ทอง และพระพุทธรูปที่พบที่วัดวิชุนก็เป็นแบบศรีโคตรบูรทั้งสิ้น มีหลายสิ่งที่ต้องทำความเข้าใจแล้วจะพบว่าการเคลื่อนเข้ามาของชาวไทย-ลาวใน ดินแดนเขตนี้มาเมื่อไร" ศิลาจารึกไทย หรือศิลาจารึกลาว ของใครจะเก่ากว่ากันนั้นไม่ใช่ประเด็น เพราะจะประเทศไทยหรือประเทศลาวก็คือกลุ่มชาติพันธุ์เดียวกัน การเดินทางไปเยี่ยมยามวัดวิชุน ที่หลวงพระบางครั้งนี้ จึงนับเป็นนิมิตหมายอันดีของการเปิดประตูพรมแดนทางการศึกษาด้านประวัติ ศาสตร์โบราณคดีของสองประเทศ

ອ້າງອິງມາຈາກ