17 June 2011

ຖືກ(ແມ່ນພາສາລາວແທ້) ຖູກ(ເປັນພາສາຄົນຈີນເວົ້າລາວໃນໄທຍ໌)

- ຖືກ, ຖືກຕ້ອງ, ຂອງຣາຄາຖືກ, ເປັນພາສາຂອງຄົນລາວທຸກກຸ່ມທັງໃນແລະນອກປະເທດ, ຄົນລາວ ຢູ່ໃນດິນລາວເວົ້າຄໍາດຽວກັນນີ້ທົ່ວໄປ, ສ່ວນລາວໃນຂະເໝນ, ລາວໃນພາກອີສານ, ເໜືອ, ລົບບູຣີຂອງໄທຍ໌, ພະມ້າ ແລະຈີນ ລ້ວນແຕ່ເວົ້າຄໍາດຽວກັບລາວນີ້ແລ້ວ.

- ແຕ່ປາກົດວ່າຄໍາວ່າຖືກໃນຄວາມໝາຍພາສາລາວນີ້, ໃນພາສາໄທຍ໌ ພັດວ່າຖູກ, ທັງໝົດ ເຊັ່ນ ຖູກ, ຖູກຕ້ອງ, ຂອງຣາຄາຖູກ, ດູຖູກ ເປັນພາສາໄທຍ໌ ແຕ່ວ່າຄໍາວ່າ ຖືກ ນີ້ໃນບັນດາຄົນໄທຍ໌ເມື່ອ 100-200 ປີນີເຂົາເວົ້າວ່າຖືກ ເໝືອນກັບຄົນລາວໃນພາສາລາວ.

- ກ່ຽວກັບຄໍາວ່າຖູກນີ້ ຜູ້ຂຽນສັງເກດມາຫຼາຍປີແລ້ວວ່າ ບໍ່ແມ່ນພາສາໄທຍ໌ເດີມດອກ ຄົນໄທຍ໌ໃນອະດີດຄົງຈະວ່າຖືກໆ ເໝືອນລາວເຮົານີແລ້ວ ແຕ່ດຽວນີ້ ກໍກາຍເປັນພາສາໄທຍ໌ໄປແລ້ວ ແລະລາວເຮົາກໍແສດຈີນໄປຄັນນຳມາເວົ້າແນ່ ກໍຄືດູຖູກ, ຄຳວ່າດູຖູກ ຄວາມແທ້ຄື ດູຖືກ, ຖືຖືກ, ເບິ່ງຖືກ ຄືຖືຄຸນຄ່າລາຄາຄົນ ສິ່ງນັ້ນສະເໝີກັນ ຫຼືຖືເບົາ.

- ແລ້ວເມື່ອ ເຮົາສະມຸດຖານວ່າ ຖູກບໍ່ແມ່ນພາສາໄທຍ໌ແທ້ ຄໍາວ່າຖູກນີ້ ໄດ້ມາຈາກໃສ ? ກໍຕ້ອງຕອບໄປວ່າ ຖູກ ໃນພາສາໄທຍ໌ນີ້ ໄດ້ມາຈາກຄົນຈີນເວົ້າລາວໄທຍ ບໍ່ຂອດ ຖືກ ກໍຜ້ຽນມາເປັນຖູກໆ ເມື່ອໄທຍ໌ຕັ້ງປະເທດແລ້ວ ກໍຈັບເອົາສຽງຖູກ ໄປໃຊ້ແທນຄໍາວ່າຖືກ ທີ່ໃຊ້ມາແຕ່ເດີມ.

- ວັນທີ 16 ມິຖຸນາ 2011, ໄດ້ພາຄົນຮັກແພງກັນມາຈາກຕ່າງແຂວງໄປທ່ຽວຕລາດ ພໍ່ຄ້າທີ່ເປັນຄົນຈີນ ເມື່ອເວົ້າຖືກໆ ເຂົາຈະອອກຖູກໆ ໃຫ້ເຂົາເວົ້າຖືກ ເຂົາກໍອອກຖູກ ບໍ່ແມ່ນແຕ່ຄົນດຽວ ຄົນໃດໆ ກໍຄົນນັ້ນ ທັງທີ່ເວົ້າພາສາລາວຫຼາຍຄໍາແຈ້ງ ແຕ່ມາເວົ້າຖູກ ມັກຈະອອກຖູກໆໆໆໆ

- ບໍ່ວ່າແຕ່ຄົນຈີນຢູ່ວຽງຈັນ ຄົນຈີນຢູ່ເມືອງລ້າ ເມືອງຮໍາຊຽງຮຸ່ງກໍຄືກັນ ຜູ້ຂຽນໄປປີ 2004 ໄດ້ໄປນອນຢູ່ເຮືອນຄົນລື້ ເຂົາກໍເວົ້າສໍານຽງລື້ ເຂົາກໍເວົ້າຄືກັນກັບລາວ ນີ້ ບາດໄປເວົ້າກັບຄົນຈີນ ທີ່ວ່າຖູກໆ.

- ຈຶ່ງສະຫຼຸບວ່າ ອືມ໌ ຖືກເປັນພາສາລາວແຕ່ເດີມ ຖູກ ເປັນພາສາຂອງຄົນຈີນເວົ້າພາສາລາວ ແລ້ວໄທຍ໌ກໍຖືເອົາເປັນສາຕົນ ເພາະເຫັນວ່າມັນຕ່າງຈາກລາວ ເພື່ອເປັນພາສາໄທຍ໌ມາດຕາຖານ.

- ຫາກເຮົາ ສຶກສາໄປເລີກໆ ຈະເຫັນວ່າ ໃນກຸງເທບ ສະໄໝທົນບູຣີ ຫາຣັດຕະນະໂກສີນ ຄົນຈີນມາຢູ່ໄທຍ໌ຫຼວງຫຼາຍ ມາກັບພະເຈົ້າຕາກ ຫຼືສະໄໝພະເຈົ້າຕາກໃຫ້ໂອກາດເຂົ້າມາຕັ່ງຖິ່ນຖານທີ່ບາງກອກທົນບູຣີ ມາແລ້ວກໍເປັນຄົນ ຄວບຄຸມເສດຖະກິດ ສັງຄົມໄທຍ໌ ອໍານາດທາງເສດຖະກິດ ທີ່ຈີນໄດ້ສິດທິປະໂຫຍດຈາກພຣະຣາຊະສໍານັກນັ້ນ ເຮັດໃຫ້ເຂົາກາຍເປັນຄົນໃນລະດັບການນໍາຂອງໄທຍ໌ ສຍາມເລື້ອຍມາ ຈົນມາຮອດຍຸກສ້າງຊາດ ຈອງສຍາມກໍເລີ່ມຈາກສູນກາງອຳນາດ ຈຶ່ງຂະຫຍາຍຕົວອອກເມືອງອື່ນໆ ຈຶ່ງເຮັດໃຫ້ພາສາ ວັດທະນະທັມໄທຍ໌ປົນລາວ-ຈີນຂະຫຍາຍຕົວກາຍເປັນວັດທະນະທັມໄທຍ໌ ທີ່ປະສົມປະສານ ຢ່າງມີເອກະລັກມາຮອດບັດນີ້.

- ໃນເມືອງລາວເຮົາກໍເຊັ່ນກັນ ດຽວນີ້ຈີນມີອຳນາດທາງເສດຖະກິດຫຼາຍຂຶ້ນ ໃນຕລາດລາດເລ ນັບແຕ່ຂາຍເຄື່ອງທັນສະໄໝໄປຈົນຮອດອາຫານ ກໍແມ່ນຈີນທໍາ ຕໍ່ໄປພາສາລາວກໍຈະປ່ຽນສຳນຽງໄດ້ ໃນອະນາຄົດ ເມື່ອສຽງລາວປົນກັບຈີນ ສໍານຽງເກົ່າຖືກລືມ ສໍານຽງໃໝ່ຖືກນິຍົມ ພາສາລາວ ຂະຫຍາຍຕົວໄປ ລູກຫຼານລາວ ໃນອະນາຄົດກໍຢືດຖືນັ້ນເປັນສຽງລາວແທ້ໆ.

- ວິທີແກ້ ແລະປ້ອງກັນບັນຫານີ້ ຄື ທາງການລາວຕ້ອງພັດທະນາອັດສອນເພື່ອບັນທຶກພາສາໃຫ້ມາດຕະຖານ ແລະພັດທະນາການສື່ສານດ້ານສື່ການຂຽນໃຫ້ຫຼາຍຂຶ້ນ ບັນທຶກສະພາວະຄວາມເປັນຈິງ ເລື່ອງລາວຕ່າງໆໃຫ້ຫຼວງຫຼາຍ ບໍ່ຈະເປັນເລື່ອງເລັກໆນ້ອຍໆ ຫຼືບັນຫາສຳຄັນຂອງຊາດລົງໃນສື່ ເພື່ອເປັນຖານຂໍ້ມູນສຶກສາໄດ້ໃນອະນາຄົດ.

ຊາວຈ້ວງໃນກວາງສີ "ເວົ້າພາສາໄທຍ໌" ມາ 3,000 ປີແລ້ວ

(ສະຫຼຸບຫຍໍ້ຈາກໜັງສື ຄົນໄທຍ໌ມາຈາກໃສ ? ແລະ"ພະລັງລາວ" ຊາວອີສານມາຈາກໃສ ?)
- ໜານໜຶງ ເປັນຊື່ເມືອງຫຼວງຂອງມົນທົນກວາງສີ້ ທີ່ນາຍຍົກຣັດຖະມົນຕີຂອງປະເທດໄທຍ໌ ເພິ່ງເດີນທາງໄປປະຊາຊົນນານາຊາກ ເມື່ອບໍ່ນາມານີ້ ແລ້ວ "ສື່" ຈຳນວນມາກມາຍຕິດຕາມໄປທຳຂ່າວ ໄດ້ພົບຊົນຂາດ "ຈ້ວງ" ເວົ້າພາສາໄທຍ໌ຢູ່ທີ່ນັ້ນ.

- ມົນທົນກວາງສີທາງໃຕ້ຂອງຈີນ ມີພຣົມແດນຕິດກັບຫວຽດນາມ (ທາງເໜືອ) ຫຼາຍປີມາແລ້ວກອງທັບຈີນເຄີຍທຳ "ສົງຄາມສັ່ງສອນ" ຫວຽດນາມ ບໍຣິເວນພຣົມແດນກວາງສີກັບຫວຽດນາມທີ່ນີ້.

- ມົນທົນກວາງສີ ກັບມົນທົນກວາງຕຸ້ງຢູ່ຕິດກັນ ເປັນຄົນ "ເຄືອຍາດ" ພວກດຽວກັນມາກ່ອນຍຸກສາມກົກ (ຮາວ 2,000 ປີມາແລ້ວ) ຄວາມໝາຍຂອງຊື່ມົນທົນກໍຢ່າງດຽວກັນ ຄື ກວາງ ໝາຍເຖິງ ທີ່ຮາບ ຫຼືທີ່ກວ້າງສີ ໝາຍເຖິງທິດຕາເວັນຕົກ ຕຸ້ງ ໝາຍເຖິງທິດຕາເວັນອອກ.

- ສະຫຼຸບວ່າ ກວາງສີ ໝາຍເຖິງທີ່ຮາບຕາເວັນຕົກ ສ່ວນກວ້າງຕຸ້ງໝາຍເຖິງ ທີ່ຮາບຕາເວັນອອກ.


- ເຍ່ວ໌ຮ້ອຍເຜົ່າ ບັນພະຊົນ "ຄົນໄທຍ໌"
- ຄົນພື້ນເມືອງດັ້ງເດີມ ໃນກວາງສີກັບກວາງຕຸ້ງ ມີຫຼາຍຊາດພັນ ຈີນບູຮານເຄີຍບັນທຶກເປັນເອກະສານວ່າ ເປັນພວກເຍ່ວ໌ຮ້ອຍເຜົ່າ ຮຽກເປັນ ພາສາຈີຍບູຮານວ່າ ໄປ່ເຍ່ວ໌ ມີຊີວິດຢູ່ທາງໃຕ້ລ່ອງນໍ້າແຢງຊີ(ກຽງ) ມາກກວ່າ 3,000 ປີມາແລ້ວ ຍຸກດຽວກັບວັດທະນະທັມບ້ານຊຽງ (ອຸດອນ) ບ້ານເກົ່າ (ການຈະນະບູຣີ) ແລະບ້ານໂນນວັດ (ນະຄອນຣາຊະສີມາ).

- ເຍ່ວ໌ຮ້ອຍເຜົ່າ ເປັນບັນພະບູຣຸດຂອງຊົນຫຼາຍກຸ່ມ ລວມທັງບັນພະຊົນຂອງຄົນເວົ້າພາສາຕະກູນໄທຍ໌-ລາວທຸກວັນນີ້ດ້ວຍ ມີຫຼັກຖານທາງປະຫວັດສາດບູຮານຄະດີຈຳນວນຫຼາຍ ຊີ້ວ່າ ເມື່ອ 2,500 ປີມາແລ້ວ ມີເຍ່ວ໌ຮ້ອຍເຜົ່າ ເຄື່ອນຍ້າຍເຂົ້າມາຕັ້ງຖິ່ນຖານໃນບໍຣິເວນ ສຸວັນນະພູມ ໂດຍສະເພາະສອງຝັ່ງຂອງ ທີ່ລາວ ແລະອີສານ ແລ້ວປະສົມກົມກືນກັບຊາດພັນພື້້ນເມືອງແລ້ວກາຍເປັນບັນພະຊົນຄົຍໄທຍ໌ແລະ ລາວປັດຈຸບັນ(ອ່ານລາຍລະອຽດໃນໜັງສື ຄົນໄທຍມາຈາກໃສ ? ພິມຄັ້ງແຮກ ພ.ສ 2548 ແລະ "ພະລັງລາວ" ຊາວອີສານ ມາຈາກໃສ ? ພິມຄັ້ງແຮກ ພ.ສ 2549)

- ເຍ່ວ໌ຮ້ອຍເຜົ່າ ມີກະຈັດກະຈາຍຢ່າງນ້ອຍ 3 ມົນທົນ ຄື ກວາງສີ, ກວາງຕຸ້ງ ແລະຢູ່ນານ ຣວມທັງທີ່ເມືອງກຸ້ຍຫຼິນອັນງາມມີສະເໜ ກໍຄືພວເຍ່ວ໌ ໃນຕະກູນໄທຍ໌-ລາວ ຫຼືຈ້ວງນັ້ນແຫຼະ ແຕ່ອາດຮຽກຕົວເອງວ່າ ຕຸົງ.

- ແຕ່ໃນກວາງສີຖືກຣັດຖະບານຂໍຮ້ອງໃຫ້ໃຊ້ຊື່ຣວມໆ ຮຽກເໝືອນໆກັນ ເມື່ອ ພ.ສ 2508 ວ່າ ຈ້ວງ ນັບແຕ່ນັ້ນມາພວກຕະກູນໄທຍ໌-ລາວ ໃນກວາງສີເລີຍໄດ້ຊື່ວ່າ ຈ້ວງ ທຖກວັນນີ້ມີຮາວ 13 ລ້ານຄົນ.

- ແຕໃນຄວາມຈຳກັດ ແລະຄຸມເຄືອນັ້ນ ມີຫຼັກຖານທາງບູຮານຄະດີອື່ນໆ ຢືນຢັນສອດຄ່ອງກັນວ່າ ກຸ່ມຊາດພັນໃນມົນທົນກວາງສີ ແລະກວາງຕຸ້ງຂອງຈີນຕອນໃຕ້ (ຈຳນວນໜຶ່ງເຊິ່ງເປັນກຸ່ມໃຫຍ່) ເວົ້າພາສາຕະກູນໄທຍ໌-ລາວ ຫຼືລາວ-ໄທຍ໌ ແຕ່ສົມມຸດຮຽກໃຫ້ສັ້ນ ແລະເຂົ້າໃຈ ຢ່າງງ່າຍໆ ໃນທີ່ນີ້ວ່າ ພາສາໄທຍ໌ສືບເນື່ອງມາຕັ້ງ 3,000 ປີມາແລ້ວ ປັດຈຸບັນຍັງມີບາງກຸ່ມໃຊ້ເວົ້າຈາສືສານກັນເອງໃນຊຸມຊົນໝູ່ ບ້ານ ແລະໃນຄອບຄົວທີ່ຢູ່ຫ່າງໄກຈາກເມືອງ.

- ເຖິງແມ່ນວ່າໃນເມືອງທີ່ບໍ່ເວົ້າພາສາໄທຍ໌ແລ້ວ ແຕ່ຍັງມີຄວາມຊົງຈຳບອກເລົ່າວ່າບັນພະບູຣູດຕົນເວົ້າພາສາ "ຈ້ວງ" ອັນເປັນຕະກູນດຽວກັບພາສາໄທຍ໌ ແຕ່ບໍ່ແມ່ນຄົນໄທຍ໌ ແລ້ວພາສາທີ່ເວົ້າຂອງຕົນວ່າຈ້ວງ ທີ່ຈັບສຳນຽງໄດ້ວ່າໃກ້ຄຽງຕະກູນພາສາໄທຍ໌ສຳນຽງລາວຂອງຝັ່ງຂອງ ແລະສຳນຽງປັກໃຕ້ ເຊັ່ນນະຄອນສີທັມມະຣາຊ.

- ບັນພະຊົນຄົນຈ້ວງດັ້ງເດີມປຸກເຮືອນເສົາສູງ ກິນເຂົ້າໜຽວ ຈຶ່ງມີບ໊ະຈ່າງເໝືອນເຂົ້າໜົມຈ້າງຂອງໄທຍ໌-ລາວ ກັບທຳຂະໜົມເຂັ້ງດ້ວຍ ເຂົ້າໜຽວ, ໃຊ້ໄຫວ້ເຈົ້າ(ຜີ) ຕອນກຸດຈີນ (ພວກຮັ່ນ-ຈີນ) ຢູ່ທາງເໜືອໆຂຶ້ນໄປ ກິນເຂົ້າສາລີ ທຳໝັນໂຖວ໌ຂະໝົມເປົ໋າ(ຊາລາເປົາ)ໄຫວ້ເຈົ້າ.

- ຈ້ວງ ເຄືອຍາດຕະກູນໄທຍ໌.

- ຈ້ວງເປັນເຄືອຍາດຕະກູນໄທຍ໌ ຜູ້ຍິ່ງໃຫຍ່ແລະເກົ່າແກ່ທີ່ສຸດ ມີຄວາມອະທິບາຍຣາຍລະອຽດພ້ອມຮູບຖ່າຍ(ທີ່ພິມປະກອບເຣື່ອງນີ້) ໄວ້ໃນໜັງສືຄົນໄທຍ໌ຢູ່ທີ່ນີ້ ທີ່ອຸສາຄະເນຍ໌ (ມະຫາວິທະຍາໄລສີລະປາກອນ ພິມຄັ້ງແຮກ ພ.ສ 2537) ຈະສະຣູບຄັດລົງມາໄວ້ຕໍ່ໄປນີ້.

- ທີ່ວ່າ "ຈ້ວງ ເປັນເຄືອຍາດຕະກູນໄທຍ" ກໍເພາະພາສາຈ້ວງກັບພາສາໄທຍ໌ ຢູ່ໃນຕະກູນດຽວກັນ ສັນທະນະລັກໃນບົດຮ້ອຍກອງຂອງ ຈ້ວງກັບຂອງໄທຍ໌ມີຄວາມສໍາພັນກັຍຢ່າງໃກ້ຊິດ ແລະມີພື້ນຖານມາຈາກຄຳຄ້ອງຈອງເຊັ່ນດຽວກັນ.

นิทานปรัมปราและนิยายศักดิ์สิทธิ์ที่ถ่ายทอด "ปากต่อปาก" ด้วยภาษาจ้วงหรือภาษาตระกูลไทย เช่น เรื่องกำเนิดคน เรื่องการเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่องสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ที่มีความสัมพันธ์กับน้ำฝน เช่น กบ ฯลฯ ล้วนคล้ายคลึงกับนิทานและนิยายของชนชาติไทยทุกกลุ่มทุกเหล่า รวมทั้งคนไทยในประเทศไทย ด้วยเหตุนี้ชาวจ้วงย่อมพูดว่า "ไทยเป็นเครือญาติตระกูลจ้วง"-ด้วยก็ได้

ที่ว่า-"ผู้ยิ่งใหญ่"-ก็เพราะในมณฑลกวางสีมีชาวจ้วงถึง 12-13 ล้านคน และอยู่ในเขตมณฑลอื่นๆ อีกเกือบ 1 ล้านคน นับเป็นเครือญาติตระกูลไทยที่มีจำนวนมากที่สุดที่อยู่นอกดินแดนประเทศไทยซึ่งนับว่าใหญ่มาก

นอกจากนั้นชาวจ้วงยังมีส่วนเป็นเจ้าของ "วัฒนธรรมฆ้อง" (มโหระทึก) ที่เป็นสัญลักษณ์ของอารยธรรมยุคแรกเริ่มของภูมิภาคอุษาคเนย์ด้วย นี่แหละ "ผู้ยิ่งใหญ่"

ที่ว่า-"เก่าแก่ที่สุด"-ก็เพราะมีร่องรอยและหลักฐานว่าจ้วงมีวัฒนธรรมสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ หรือประมาณ 3,000 ปีมาแล้ว โดยดูจากภาพเขียนที่ผาลายกับมโหระทึกและพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบความเชื่อ "ผี"

ภาพเขียนมหึมาบนภูผามหัศจรรย์-หรือผาลาย เป็นภาพพิธีกรรมขอฝนเพื่อความอุดมสมบูรณ์ มีภาพมโหระทึกและกลุ่มคนประโคมตีมโหระทึก มีภาพคนประดับขนนกบนหัวแล้วทำท่ากางขากางแขนคล้ายกบ

มโหระทึกเป็นกลองหรือฆ้องทำด้วยสัมฤทธิ์ที่มีตัวตนเป็นวัตถุจริงๆ เป็นผลผลิตทางวัฒนธรรมของภูมิภาคอุษาคเนย์โดยเฉพาะ และมีพัฒนาการเกือบ 3,000 ปีมาแล้ว อาจนับได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของอารยธรรมแรกเริ่มของภูมิภาคอุษาคเนย์ก่อนรับอารยธรรมจากจีนและอินเดีย

เฉพาะบริเวณที่เป็นถิ่นฐานของชาวจ้วงในมณฑลกวางสี พบมโหระทึกฝังอยู่ใต้ดินไม่น้อยกว่า 600 ใบ และชาวจ้วงทุกวันนี้ยังมีมโหระทึกประจำตระกูลกับประจำหมู่บ้านใช้งานในพิธีกรรมที่ทำสืบเนื่องมาแต่ดึกดำบรรพ์อีกรวมนับพันๆ ใบ แสดงว่าชาวจ้วงให้ความสำคัญต่อมโหระทึกมาก จนอาจกล่าวได้ว่าจ้วงเป็นเจ้าของวัฒนธรรมมโหระทึก (แม้ชนชาติอื่นจะมีมโหระทึกด้วย แต่รวมแล้วไม่มากเท่าจ้วง)

ทุกวันนี้ชาวจ้วงยังใช้มโหระทึกประโคมตีในพิธีสำคัญๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งพิธีกรรม "ขอฝน" เพื่อความอุดมสมบูรณ์ ดังพิธีบูชากบประจำปีตามหมู่บ้านต่างๆ มีขบวนมโหระทึกแห่กบ มีการละเล่นแต่งตัวเป็นกบช่วยเหลือมนุษย์ ฯลฯ ล้วนสอดคล้องกับภาพเขียนที่ผาลาย แสดงว่าชาวจ้วงยังสืบทอดประเพณีและพิธีกรรมตั้งแต่ยุคสัมฤทธิ์จนถึงปัจจุบันเป็นเวลานานราว 3,000 ปีมาแล้ว

นี่แหละ "จ้วง-เครือญาติตระกูลไทยผู้ยิ่งใหญ่และเก่าแก่ที่สุด"

แต่-จ้วงไม่ใช่คนไทย เพราะไม่ได้เป็นประชากรของประเทศไทย และไม่ได้อยู่ในดินแดนประเทศไทย ทุกวันนี้ชาวจ้วงเป็นคนจีน เพราะเป็นประชากรจีน และอยู่ในดินแดนประเทศจีน รวมทั้งวิถีชีวิตที่รับอิทธิพลวัฒนธรรมจีน ไม่ว่าจะเป็นบ้านช่องที่อยู่อาศัย และขนบธรรมเนียมประเพณีหลายๆ อย่าง

แม้จ้วงเป็นเครือญาติตระกูลไทยผู้ยิ่งใหญ่และเก่าแก่ที่สุด ก็ไม่ได้หมายความว่าคนไทยมีถิ่นกำเนิดอยู่ในเมืองจ้วง มณฑลกวางสี แต่อาจมีชาวจ้วงบางกลุ่มเคลื่อนย้ายมาตั้งถิ่นฐานเป็น "เจ๊ก" ในดินแดนประเทศไทยแล้วแต่งงานกับสาวลาวจนกลายเป็น "คนไทย" สมัยโบราณก็ได้ ส่วนชาวจ้วงเกือบทั้งหมดก็อยู่เมืองจ้วงในกวางสีนั่นแหละ

16 June 2011

ນະຄອນທັງຫ້າ ທີ່ປາກົດໃນຍຸກດຽວກັບສີໂຄຕະບອງ ແຕ່ ພ.ສ 8 ຮອດ ພ.ສ 236

- ນັບແຕ່ກ່ອນພຸດທະສັກກາດ ຮອດ ພ.ສ 8 ຈົນຮອດປີ ພ.ສ 600 ສູນກາງສຸວັນນະພູມ ຢູ່ທີ່ສີໂຄຕະບອງ ຍຸກນີ້ຮຽກວ່າ "ຍຸກສີໂຄຕ-ຈັນທະບູຣີ" ເພາະໃນໄລຍະນີ້ ໜັງສືອຣັງຄະທາດໄດ້ກ່າວເຖິງ ເມືອງສີໂຄດ ແລະເມືອງອື່ນໆ ຈົນຮອດການກຳເນີດ ເມືອງຈັນທະບູຣີ (ວຽງຈັນທນ໌) ໄວ້ຈະແຈ້ງ, ໃນນັ້ນ ມີເມືອງທີ່ພົວພັນກັນ ຫຼືເມືອງບໍຣິວານອີກ 5 ຫົວເມືອງ ຄື:

1. ເມືອງສີໂຄຕບອງ ເມືອງນີ້ຕັ້ງຢູ່ປາກໃຕ້ເຊບັ້ງໄຟ (ອາດແມ່ນເມືອງຮ້າງໜອງເຮືອທອງ ທີ່ນັ້ນຜູ້ຂຽນໄປ ປີ 2010 ເຫັນຮູບເມືອງ ແລະສີລາຈາຣື ເສົາຫີນຫຼັກເມືອງ ຮູບເມືອງ ດິນຈີ່ ແລະຄູວຽງຂະໜາດໃຫຍ່ ທ່ານໍ້າ ແລະຮອຍເສົາທ່າເຮືອ ຫຼືສາລາທ່ານໍ້າ ຕັ້ງຢູ່ກໍ້າໃຕ້ເຊບັ້ງໄຟ) ຕໍ່ມາເມືອງນີ້ຫ້າໄດ້ຍ້າຍຂຶ້ນມາທາງເໜືອນໍ້າເຊບັ້ງໄຟ (ບໍຣິເວນເມືອງເກ່ົາທີ່ແຂກ) ຕໍ່ມາກໍຍ້າຍໄປຝັ່ງຂວາແມ່ນໍ້າ ບໍຣິປ່າໄມ້ຮວກ (ບໍຣິພຣະທາດພະນົມ)ຊື່ວ່າມະຣຸກຂານະຄອນ ມີພຣະຍານັນທະເສນຄອງ.

2. ເມືອງຈຸລລະນີ້ພຣົມມະທັດ ໃນດິນແດນແຄ້ວນ ສິບສອງຈຸໄທ ບໍຣິແຄມນໍ້າມ້າ ຕົກອ່າວຕົງແກັງ, ມີພຣະຍາຈຸລລີພຣົມມະທັດຄອງ.

3. ເມືອງໜອງຫານຫຼວງ ຄືບໍຣິເວນແຂວງ(ຈັງຫວັດ)ສາກົລນະຄອນ ມີພຣະຍາສຸວັນນະພິງຄາຣ ເປັນຜູ້ຄອງ.

4. ເມືອງອິນທະປັຕ ມີການສັນນິຖານວ່າບໍຣິເວນ ຈຳປາສັກ ຫຼືເມືອງຂະແມຣ໌ບູຮານ ມີພຣະຍາອິນທະປັຕເປັນຜູ້ຄອງ.

5. ເມືອງໜອງຫານນ້ອຍ ຄືບໍຣິເວນເມືອງໜອງຫາຣ ເມືອງກຸມພະວາປີ ແຂວງອຸດອນທານີ ມີພຣະຍາຄໍາແດງ ເປັນຜູ້ຄອງ.

6. ເມືອງສາເກຕ ຫຼືເມືອງຮ້ອຍເອັດປະຕູ ມີພຣະຍາສາເກຕເປັນຜູ້ຄອງ (ຢູ່ທີ່ອຳເພີນາດູນ ແຂວງມະຫາສາຣະຄາມ)

ຂຽນ ແລະຄົ້ນຄວ້າສຣູບສັງລວມໂດຍ
ພຣະຄຣູເນືອງພິລັກ ໂຊຕິທອນ
(ອາຈານສອນວິທະຍາໄລສົງ)

15 June 2011

ຄົນລາວສອງຝັ່ງຂອງ ສ້່າງກຸງເທບ(ປະຣິວັດຈາກ

คอลัมน์ ภูมิสังคมวัฒนธรรม โดย โครงการสถาบันสุวรรณภูมิ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร www.svbhumi.com e-mail : sv@svbhumi.com

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี (พระเจ้าตาก) โปรดให้เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) ยกทัพไปตีได้เมืองเวียงจันเมื่อ พ.ศ.2322 แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตลงมาประดิษฐานที่วัดอรุณราชวราราม กรุงธนบุรี ครั้งนั้นได้กวาดต้อนท้าวนางจากเมืองเวียงจัน รวมทั้งเชลยลาวชาวอีสานเข้ามาเป็นประชากรกรุงธนบุรีอีกด้วย หนึ่งในบรรดาท้าวนางเวียงจัน มี "เจ้าจอมแว่น" ที่มีความสำคัญในราชสำนักรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี (อ่านรายละเอียดได้ในหนังสือ โครงกระดูกในตู้ ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สยามรัฐ, 2514 และขัตติยราชปฏิพัทธ์ ในศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 กุมภาพันธ์ 2547) หลังจากนั้นยังกวาดต้อนลาวสองฝั่งโขงตั้งแต่หลวงพระบาง เวียงจัน จัมปาสัก และอีสาน เข้ามาสร้างกรุงเทพฯ แล้วตั้งหลักแหล่งเป็นชาวกรุงเทพฯสืบมา โปรดให้เกณฑ์ลาว (คืออีสานทุกวันนี้) เมืองเวียงจัน ตลอดจนหัวเมืองลาวริมแม่น้ำโขงฟากตะวันตก เข้ามาขุดรากก่อกำแพงพระนคร และสร้างป้อมเป็นระยะๆ รอบพระนคร ลาวที่ถูกเกณฑ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้กลับถิ่นเดิม เพราะการสร้างบ้านแปลงเมืองไม่ได้เสร็จในคราวเดียว หากทำต่อเนื่องหลายรัชกาล พวกที่เกณฑ์มาจึงตั้งหลักแหล่งกระจายทั่วไปตามแต่นายงานจะสั่งให้อยู่ตรงไหน ทำงานที่ไหน ที่สุดแล้วก็สืบโคตรตระกูลลูกหลานตั้งหลักแหล่งถาวรอยู่ในบางกอกกลายเป็นคน กรุงเทพฯ เจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ใกล้ชิดสนิทสนมกับราชวงศ์จักรีมาก่อนสถาปนากรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ.2325 ฉะนั้นเมื่อสร้างกรุงเทพฯแล้ว จึงโปรดให้สร้างวังเจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ขึ้นที่บางยี่ขัน ริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ใกล้โรงเหล้าบางยี่ขัน) สำหรับเป็นที่อยู่เมื่อลงมากรุงเทพฯ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า วังบางยี่ขัน ราชสำนักกรุงเทพฯ-ราชสำนักเวียงจัน ความใกล้ชิดเสมือน "เครือญาติ" ระหว่างราชสำนักกรุงเทพฯกับราชสำนักเวียงจัน ตั้งแต่ก่อนสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2325 ดูได้จาก "ร่างตราเมืองเวียงจัน" ที่รัชกาลที่ 2 โปรดให้ส่งไปพระราชทานเจ้าอนุวงศ์เวียงจัน แล้วสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ค้นพบถวายรัชกาลที่ 5 พิมพ์ในพระราชวิจารณ์ว่า "กรมหลวงดำรงไปค้นได้ร่างตรา มีขึ้นไปถึงเจ้าอนุเวียงจันทน์ ว่าด้วยเรื่องทำสวนนี้ มีข้อความละเอียดลออไพเราะดีมาก ควรจะเห็นได้ว่าเป็นพระกระแสพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ารับสั่งเรียงเอง ไม่ใช่เจ้าพระยาอภัยภูธรแต่งเป็นแน่ ต้องเป็นผู้ที่ได้คิดและได้เห็นงานแล้วจึงจะเรียงลงได้ เพราะราวกับบทละคร" วังเจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ที่บางยี่ขัน เจ้านายขุนนาง "ผู้ดี" ในกรุงเทพฯมีเชื้อสายลาวไม่มากก็น้อย ทั้งลาวเวียงจัน ลาวหลวงพระบาง ลาวจัมปาสัก และลาวอีสาน ดังมีพยานในหนังสือ นิราศวังบางยี่ขัน ของคุณพุ่ม แต่งเรื่องตามเสด็จพระองค์เจ้านารีรัตนาไปเยี่ยมพระญาติ เมื่อปีมะเส็ง พ.ศ.2412 (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา โปรดให้พิมพ์เมื่อ ปีจอ พ.ศ.2465) มีข้อเขียน นำเรื่อง นิราศวังบางยี่ขัน เรียบเรียงโดยอาจารย์บุญเตือน ศรีวรพจน์ (กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร เมื่อรวมพิมพ์ใน กวีสยามนำเที่ยวกรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มติชน, 2545) สรุปว่า กลอนนิราศวังบางยี่ขันของคุณพุ่มนี้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา โปรดฯให้พิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปีจอ พุทธศักราช 2465 ในการพิมพ์ครั้งนั้นได้ทำเชิงอรรถอธิบายความไว้ด้วย นับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับนามบุคคลต่างๆ ใน "วงศ์เวียงจัน" ซึ่งองค์ผู้โปรดฯ ให้พิมพ์ทรงรู้จักเป็นอย่างดี เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ "วงศ์เวียงจัน" ที่ "เมื่อเดิมทีมีบุญสกุลสูง กลายเปนยูงแล้วขยับกลับเป็นหงส์" นั้นไม่ปรากฏในเอกสารใดๆ มากนัก นิราศวังบางยี่ขันแม้จะเป็นกวีนิพนธ์สั้นๆ แต่สามารถให้รายละเอียดบางประเด็นที่เกี่ยวกับเจ้านายฝ่ายกรุงเทพฯที่สืบสาย มาจาก "วงศ์เวียงจัน" ส่วนวังบางยี่ขันและ "บ้านลาวชาวเวียงจัน" ที่เคยอยู่ในบริเวณดังกล่าว ปัจจุบันไม่มีหลักฐานเหลือให้เห็น นอกจาก "พระแทรกคำ" พระประธานในพระอุโบสถวัดคฤหบดี อันเป็นอนุสรณ์ของ "หมดบุรินทร์สิ้นสูญอาดูรโดย เวียงจันท์โรยร้างราเป็นป่าไป" ให้ลูกหลานลาวเวียงได้รำลึกถึง สุนทรภู่เมื่อสิ้นแผ่นดินรัชกาลที่ 2 ก็ฝากตัวอยู่กับเจ้าฟ้าอาภรณ์กับเจ้าฟ้าปิ๋ว พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 ซึ่งประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ที่ทรงเป็นเชื้อสายราชวงศ์เวียงจัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวบวรราชาภิเษกแล้ว สุนทรภู่ก็เข้ารับราชการอยู่ในพระราชวังบวร ที่ทรงคุ้นเคยกับเจ้านายฝ่ายเวียงจัน คราวที่กองทัพไทยยกไปตีเมืองเวียงจันในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อพุทธศักราช 2369 ครั้งนั้นเจ้านายในราชสำนักกรุงเทพฯ ตลอดจนขุนนางไทยอาจมีทั้งผู้ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ จึงทรงพยายามขจัดข้อขัดแย้งดังกล่าว จะเห็นได้จากการที่ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้ากลาง" พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ขึ้นเป็นเจ้าฟ้ามหามาลา และกรมขุนบำราบปรปักษ์ ตามลำดับ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวก็โปรดฯให้สร้างตำหนักขึ้นบริเวณชุมชน ลาวเวียงจัน ที่ตำบลสีเทา แขวงเมืองสระบุรี วังบางยี่ขันเป็นสถานที่พำนักของเจ้านายวงศ์เวียงจันมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อเจ้าอนุวงศ์ซึ่งเป็นเจ้าปู่ของเจ้าจอมมารดาดวงคำยังอยู่ในกรุงเทพฯ ก็พำนักอยู่ที่วังบางยี่ขัน ครั้งนั้นเจ้าอนุวงศ์จัดให้มีการฝึกหัดละครขึ้นที่นี่ด้วย วังบางยี่ขันน่าจะอยู่เหนือวัดคฤหบดีขึ้นไป ตามที่คุณพุ่มพรรณนาว่า "เขาสมเสพเรียกทางบางยี่ขัน ยังไม่ถึงบ้านลาวชาวเวียงจัน" ครั้นพระองค์เจ้านารีรัตนาเสด็จถึง "พวกที่วังบางยี่ขันพันธุ์พระญาติ" ก็มารับเสด็จ พระญาติฝ่ายเจ้าจอมมารดาดวงคำซึ่งอยู่ที่วังบางยี่ขันตามที่ปรากฏในนิราศ คือ เจ้าแม่แก้ว (น่าจะเป็นมารดาของเจ้าจอมมารดาดวงคำ) เจ้าลุงจอม (น่าจะมีศักดิ์เป็นลุงของเจ้าจอมมารดาดวงคำ) และเจ้าจันทรเทพสุริยวงศ์ เจ้าเมืองมุกดาหาร เนื้อความในนิราศตอนนี้กล่าวถึงเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในพระราชวงศ์จักรีที่พระ มารดามีเชื้อสาย "วงศ์เวียงจัน" ๏ แต่เจ้าเมืองมุกดาได้มาปะองค์พระดนัยนาถเสนหา คือพระสายสุดกระษัตริย์รัตนาเป็นนัดดาเนื้อนพคุณนาม เฉลิมวงศ์เวียงจันโดยอันดับสืบสลับในจังหวัดกระษัตริย์สยาม พระน้องน้อยนงนุชนั้นสุดงามทรงพระนามประดิษฐาสร้อยสารี มิได้ตามบาทบงสุ์พระองค์ใหญ่เสด็จอยู่ในตึกตำหนักเป็นศักดิ์ศรี ได้มาชมสมถวิลก็ยินดีจดบาญชีชื่อเสียงชาวเวียงวงศ์ เมื่อเดิมทีมีบุญสกุลสูงกลายเปนยูงแล้วขยับกลับเปนหงส์ อันชาวศรีสัตนหุตสมมุติพงศ์ร่วมพระวงศ์สมเด็จฟ้ามาลากร คือกรมขุนบำราบปรปักษ์เฉลิมหลักโมลิศอดิศร เปนวงศ์เวียงเรียงลำดับไม่ซับซ้อน กับสมรเสมอทรวงแม่ดวงคำ แลนับเนื่องเบื้องยุคลกุณฑลฟ้าวงศ์จังหวัดสัตนาเลขาขำ เจ้ามุกดามาจำเพาะคราวเคราะห์กรรมป่วยประจำจึงบอก "คุณ" ออกมา "คุณ" ในที่นี้คือ คุณจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4 เป็นหลานปู่เจ้าอนุวงศ์ "สมเด็จฟ้ามาลากร" หมายถึง สมเด็จเจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีวงศ์เวียงจัน "กุณฑลฟ้า" หมายถึง เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทบุรี พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทองสุก เมื่อปีมะเมีย พุทธศักราช 2341 มีพระประวัติกล่าวไว้ในเรื่อง "ปฐมวงศ์" ว่า "พระองค์เจ้าจันทบุรี เจ้าจอมมารดาเป็นพระสนมเอก แลเป็นบุตรีเจ้าเมืองเวียงจันท์ แต่ก่อนโปรดฯ ให้เป็นแต่เพียงพระองค์เจ้าเหมือนกัน กับพระราชบุตรแลพระราชบุตรีพระองค์อื่นที่ประสูติแต่พระสนม เจ้าจอมมารดาของพระองค์เจ้านั้นสิ้นชีพในปีกุนเบญจศก เมื่อกรมพระราชวังบวรสวรรคตแล้วนั้น พระองค์เจ้านั้นมีพระชนมายุได้ห้าขวบ เป็นกำพร้าไม่มีเจ้าจอมมารดา ทรงพระกรุณามาก ภายหลังล่วงมาปีหนึ่งพระองค์เจ้านั้นตามเสด็จลงไปลอยกระทง วิ่งเล่นตกน้ำหายไป คนทั้งปวงเที่ยวหาอยู่ครู่หนึ่งจึงพบพระองค์เจ้าไปเกาะทุ่นหยวกอยู่ หาจมน้ำไม่ ผู้พบเชิญเสด็จกลับมาได้ จึ่งทรงพระกรุณาโปรดมากขึ้น มีพระบรมราชโองการดำรัสว่า พระองค์เจ้านี้เจ้าจอมมารดาก็เป็นเจ้าฝ่ายลาว อัยกาธิบดีคือเจ้าเวียงจันท์ก็ยังอยู่ ควรจะให้เลื่อนเป็นที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯ พระราชทานสุพรรณบัฏให้เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เจ้าฟ้าพระองค์นี้ได้เป็นพระวรราชชายานารีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย มีพระโอรสพระธิดาเป็นเจ้าฟ้าสี่พระองค์" พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่ประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ได้แก่ เจ้าฟ้าอาภรณ์ เจ้าฟ้ากลาง (สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์) เจ้าฟ้าหญิง (สิ้นพระชนม์ แต่ยังทรงพระเยาว์) และเจ้าฟ้าปิ๋ว ล้วนเป็นเชื้อวงศ์เวียงจันที่ทรงอุปการะสุนทรภู่ หน้า 34--จบ-- June 16, 20

เพราะฉะนั้น

ชาวกรุงเทพส่วนใหญ่จึงไม่ใช่ไทยแท้แน่นอน
เพราะไทยแท้จะต้องหน้าตาเหมือนรูปคนไทยข้างล่าง อิอิ

ที่มา http://www.dnhospital.com/watsun/watsun.htm

หน้าตาแบบไหน ถึงจะเรียกได้ว่าเป็น "ไทยแท้" ?

ลาวโซ่ง


กระเหรี่ยง


ลาวเวียง


จีน


มอญ


ล้านนา


เขมร


ไทยแท้



หน้าตาเผ่าพันธุ์แบบนี้ ผิวต้องสีนี้
ถึงเรียกข้าได้ว่าเป็น "ไทยแท้"
แห่งผืนแผ่นดินสยามประเทศ


อ่านต่อ : http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2162245#ixzz1PMb4JxZW

ຄົນລາວສອງຝັ່ງຂອງ ສ້່າງກຸງເທບ(ປະຣິວັດຈາກອັກສອນໄທຍ໌)

- ບົດຄວາມ ຄົນລາວສອງຝັ່ງຂອງ ສ້່າງກຸງເທບໄດ້ຈາກ http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2162245 ເຂົາກໍອ້າງວ່າໄດ້ຈາກ ຄໍລັມ ພູມສັງຄົມວັດທະນະທັມ ໂດຍໂຄງການສະຖາບັນສຸວັນນະພູມ ສະຖາບັນວິໄຈ ແລະພັດທະນາ ມະຫາວິທະຍາໄລສີລປາກອນ(ໄທຍ) www.svbhumi.com e-mail : sv@svbhumi.com ເປັນບົດຄວາມທີ່ດີ ສາມາດເປີດໂລກະທັດ ທັງຄົນໄທຍ໌ ແລະລາວໄດ້ ຈຶ່ງເກັບກຳນໍາມາເລົ່າຕໍ່ ແລະປະຣິວັດເປັນອັກສອນລາວໄວ້ເລີຍ ເພື່ອຈະງ່າຍຕໍ່ຄົນລາວເຮົາຜູ້ບໍ່ສັນທັດອັກສອນໄທຍ໌.

ບົດຄວາມນັ້ນ ຂຽນວ່າດັ່ງນີ້:

- ສົມເດັດພຣະເຈົ້າກຸງທົນ(ພຣະເຈົ້າຕາກ) ໂຜດໃຫ້ພຣະຍາຈັກກຣີ(ຣັຊກາລທີ 1) ຍົກທັບໄປຕີໄດ້ເມືອງວຽງຈັນ(ນະຄອນຈັນທະບູຣີ) ເມື່ອ ພ.ສ 2322 (1779) ອັງເງິນພຣະແກ້ວມໍຣະກົຕລົງມາປະດິດສະຖານ ທີ່ວັດອຣຸນວະນາຣາມ ກຣຸງທົນບູຣີ, ຄັ້ງນັ້ນໄດ້ກວາດຕ້ອນທ້າວນາງຈາກເມືອງວຽງຈັນ(ນະຄອນຈັນທະບູຣີ) ຣວມທັງຊະເລີຍລາວຊາວອີສານ ເຂົ້າມາເປັນປະຊາກອນກຣຸງທົນ ບູຣີດ້ວຍ ໜຶ່ງໃນບັນດາທ້າວນາງວຽງຈັນ ມີ "ເຈົ້າຈອມແວ່ນ" ທີ່ມີຄວາມສໍາຄັັນໃນຣາຊະສຳນັກ ຣາຊະການທີ່ 1 ແຫ່ງຣາຊະວົງຈັກກຣີ້(ອ່ານຣາຍລະອຽດໄດ້ໃນໜັງສື ໂຄງກະດູກໃນຕູ້ ຂອງ ມ.ຣ.ວ ຄຣຶກຣິທ ປຣາໂມຊ ສຍາມຣັຖ, 2514 ແລະ ຂັນຕິຣາຊປະຕິພັທທ໌ ໃນສິລປະວັດທະນະທັມ ປີທີ 25 ສະບັບທີ 4 ກຸມພາ 2547) ຫຼັງຈາກນັ້ນຍັງກວດຕ້ອນລາວສອງຝັ່ງຂອງ ຕັ້ງແຕ່ຫຼວງພຣະບາງ, ວຽງຈັນ, ຈຳປາສັກ ແລະອີສານ ເຂົ້າມາສ້າງກຸງເທພ, ແລ້ວຕັ້ງຫຼັກແຫຼ່ງເປັນຊາວກຸງເທພຯສືບມາ.

- ໂຜດໃຫ້ເກນລາວ(ຄືຄົນອີສານທຸກວັນນີ້) ເມືອງວຽງຈັນ ຕລອດຮອດຫົວເມືອງລາວຮິມນ້ຳຂອງຟາກຕາເວັນຕົກ ເຂົ້າມາຂຸກຮາກໍ່ກຳແພງພຮະນະຄອນ ແລະສ້າງປ້ອມເປັນໄລຍະໆ ຮອບພຣະນະຄອນ ລາວຖືກເກນທັງໝົດນີ້ ບໍ່ໄດ້ກັບຖິ່ມເດີມ ເພາະການສ້າງບ້ານແປງເມືອງບໍ່ໄດ້ສໍາເຣັັດພາຍໃນຄາວດຽວ ຫາກທຳຕໍ່ເນື່ອງຫຼາຍຣັຊກາລ ພວກທີ່ເກນມາຈຶ່ງຕັ້ງຫຼັກແຫຼ່ງກະຈາຍທົ່ວໄປ ຕາມແຕ່ນາຍງານຈະສັ່ງໃຫ້ຢູ່ໃສ ທໍາງານທີ່ໃດ ທີ່ສຸດແລ້ວກໍສືບໂຄຕຕະກູນລູກຫຼາຍ ຕັ້ງຫຼັກແຫຼ່ງຖາວອນຢູ່ໃນບາງກອກ ກາຍເປັນຄົນກູງເທພຯ ເຈົ້ານາຍ "ວົງວຽງຈັນ" ໃກ້ຊິດສະໜິດສະໜົມກັບຣາຊະວົງຈັກຣີ ມາກ່ອນສະຖາປານາກຣຸງເທພຯ ເມື່ອ 2325(1782) ສະນັ້ນ ຈຶ່ງສ້າງກຣຸງເທພຯແລ້ວ ຈຶ່ງໂຜດໃຫ້ສ້າງວັງເຈົ້ານາຍ "ວົງວຽງຈັນ" ຂຶ້ນທີ່ບາງຍີ່ຂັນ ຮິມແມ່ນໍ້າເຈົ້າພຣະຍາ (ໃກ້ໂຮງເຫຼົ້າບາງຍີ່ຂັນ) ສໍາລັບເປັນທີ່ຢູ່ເມື່ອລົງມາກຸງເທພຯ ເຊິ່ງເປັນທີ່ຮູ້ຈັກກັນອີດຊື່ໜຶ່ງວ່າ ວັງບາງຍີ່ຂັນ ຣາຊະສຳນັກກຣຸງເທພຯ ຣາຊະສໍານັກວຽງຈັນ ຄວາໃກ້ຊິດເໝືອນ "ເຄືອຍາດ" ຣະຫວ່າງຣາຊະສຳນັກຣາຊະສຳນັກກຣຸງເທພຯກັບຣາຊະວັງວຽງຈັນ ຕັ້ງແຕ່ກ່ອນສະຖາປານາກຣຸງຣັຕນະ ໂກສິນທຸ໌ ເມື່ອ 2325(1782) ເບິ່ງໄດ້ຈາກ ຮ່າງຕຣາເມືອງວຽງຈັນ" ທີ່ຣັຊກາລທີ 2 ໂຜດໃຫ້ສົ່ງໄປ ພຣະຣາຊະການເຈົ້າອະນຸວົງ ວຽງຈັນ ແລ້ວສົມເດັດກຣົມພຣະຍາດຳຣົງຣາຊານຸພາພ ຄົ້ນພົບຖວາຍຣັຊກາລທີ 5 ພິມໃນພຣະຣາຊະວິຈານ ວ່າ
"กรมหลวงดำรงไปค้นได้ร่างตรา มีขึ้นไปถึงเจ้าอนุเวียงจันทน์ ว่าด้วยเรื่องทำสวนนี้ มีข้อความละเอียดลออไพเราะดีมาก ควรจะเห็นได้ว่าเป็นพระกระแสพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ารับสั่งเรียงเอง ไม่ใช่เจ้าพระยาอภัยภูธรแต่งเป็นแน่ ต้องเป็นผู้ที่ได้คิดและได้เห็นงานแล้วจึงจะเรียงลงได้ เพราะราวกับบทละคร" วังเจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ที่บางยี่ขัน เจ้านายขุนนาง "ผู้ดี" ในกรุงเทพฯมีเชื้อสายลาวไม่มากก็น้อย ทั้งลาวเวียงจัน ลาวหลวงพระบาง ลาวจัมปาสัก และลาวอีสาน ดังมีพยานในหนังสือ นิราศวังบางยี่ขัน ของคุณพุ่ม แต่งเรื่องตามเสด็จพระองค์เจ้านารีรัตนาไปเยี่ยมพระญาติ เมื่อปีมะเส็ง พ.ศ.2412 (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา โปรดให้พิมพ์เมื่อ ปีจอ พ.ศ.2465) มีข้อเขียน นำเรื่อง นิราศวังบางยี่ขัน เรียบเรียงโดยอาจารย์บุญเตือน ศรีวรพจน์ (กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร เมื่อรวมพิมพ์ใน กวีสยามนำเที่ยวกรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มติชน, 2545) สรุปว่า กลอนนิราศวังบางยี่ขันของคุณพุ่มนี้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา โปรดฯให้พิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปีจอ พุทธศักราช 2465 ในการพิมพ์ครั้งนั้นได้ทำเชิงอรรถอธิบายความไว้ด้วย นับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับนามบุคคลต่างๆ ใน "วงศ์เวียงจัน" ซึ่งองค์ผู้โปรดฯ ให้พิมพ์ทรงรู้จักเป็นอย่างดี เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ "วงศ์เวียงจัน" ที่ "เมื่อเดิมทีมีบุญสกุลสูง กลายเปนยูงแล้วขยับกลับเป็นหงส์" นั้นไม่ปรากฏในเอกสารใดๆ มากนัก นิราศวังบางยี่ขันแม้จะเป็นกวีนิพนธ์สั้นๆ แต่สามารถให้รายละเอียดบางประเด็นที่เกี่ยวกับเจ้านายฝ่ายกรุงเทพฯที่สืบสาย มาจาก "วงศ์เวียงจัน" ส่วนวังบางยี่ขันและ "บ้านลาวชาวเวียงจัน" ที่เคยอยู่ในบริเวณดังกล่าว ปัจจุบันไม่มีหลักฐานเหลือให้เห็น นอกจาก "พระแทรกคำ" พระประธานในพระอุโบสถวัดคฤหบดี อันเป็นอนุสรณ์ของ "หมดบุรินทร์สิ้นสูญอาดูรโดย เวียงจันท์โรยร้างราเป็นป่าไป" ให้ลูกหลานลาวเวียงได้รำลึกถึง สุนทรภู่เมื่อสิ้นแผ่นดินรัชกาลที่ 2 ก็ฝากตัวอยู่กับเจ้าฟ้าอาภรณ์กับเจ้าฟ้าปิ๋ว พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 ซึ่งประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ที่ทรงเป็นเชื้อสายราชวงศ์เวียงจัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวบวรราชาภิเษกแล้ว สุนทรภู่ก็เข้ารับราชการอยู่ในพระราชวังบวร ที่ทรงคุ้นเคยกับเจ้านายฝ่ายเวียงจัน คราวที่กองทัพไทยยกไปตีเมืองเวียงจันในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อพุทธศักราช 2369 ครั้งนั้นเจ้านายในราชสำนักกรุงเทพฯ ตลอดจนขุนนางไทยอาจมีทั้งผู้ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ จึงทรงพยายามขจัดข้อขัดแย้งดังกล่าว จะเห็นได้จากการที่ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้ากลาง" พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ขึ้นเป็นเจ้าฟ้ามหามาลา และกรมขุนบำราบปรปักษ์ ตามลำดับ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวก็โปรดฯให้สร้างตำหนักขึ้นบริเวณชุมชน ลาวเวียงจัน ที่ตำบลสีเทา แขวงเมืองสระบุรี วังบางยี่ขันเป็นสถานที่พำนักของเจ้านายวงศ์เวียงจันมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อเจ้าอนุวงศ์ซึ่งเป็นเจ้าปู่ของเจ้าจอมมารดาดวงคำยังอยู่ในกรุงเทพฯ ก็พำนักอยู่ที่วังบางยี่ขัน ครั้งนั้นเจ้าอนุวงศ์จัดให้มีการฝึกหัดละครขึ้นที่นี่ด้วย วังบางยี่ขันน่าจะอยู่เหนือวัดคฤหบดีขึ้นไป ตามที่คุณพุ่มพรรณนาว่า "เขาสมเสพเรียกทางบางยี่ขัน ยังไม่ถึงบ้านลาวชาวเวียงจัน" ครั้นพระองค์เจ้านารีรัตนาเสด็จถึง "พวกที่วังบางยี่ขันพันธุ์พระญาติ" ก็มารับเสด็จ พระญาติฝ่ายเจ้าจอมมารดาดวงคำซึ่งอยู่ที่วังบางยี่ขันตามที่ปรากฏในนิราศ คือ เจ้าแม่แก้ว (น่าจะเป็นมารดาของเจ้าจอมมารดาดวงคำ) เจ้าลุงจอม (น่าจะมีศักดิ์เป็นลุงของเจ้าจอมมารดาดวงคำ) และเจ้าจันทรเทพสุริยวงศ์ เจ้าเมืองมุกดาหาร เนื้อความในนิราศตอนนี้กล่าวถึงเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในพระราชวงศ์จักรีที่พระ มารดามีเชื้อสาย "วงศ์เวียงจัน" ๏ แต่เจ้าเมืองมุกดาได้มาปะองค์พระดนัยนาถเสนหา คือพระสายสุดกระษัตริย์รัตนาเป็นนัดดาเนื้อนพคุณนาม เฉลิมวงศ์เวียงจันโดยอันดับสืบสลับในจังหวัดกระษัตริย์สยาม พระน้องน้อยนงนุชนั้นสุดงามทรงพระนามประดิษฐาสร้อยสารี มิได้ตามบาทบงสุ์พระองค์ใหญ่เสด็จอยู่ในตึกตำหนักเป็นศักดิ์ศรี ได้มาชมสมถวิลก็ยินดีจดบาญชีชื่อเสียงชาวเวียงวงศ์ เมื่อเดิมทีมีบุญสกุลสูงกลายเปนยูงแล้วขยับกลับเปนหงส์ อันชาวศรีสัตนหุตสมมุติพงศ์ร่วมพระวงศ์สมเด็จฟ้ามาลากร คือกรมขุนบำราบปรปักษ์เฉลิมหลักโมลิศอดิศร เปนวงศ์เวียงเรียงลำดับไม่ซับซ้อน กับสมรเสมอทรวงแม่ดวงคำ แลนับเนื่องเบื้องยุคลกุณฑลฟ้าวงศ์จังหวัดสัตนาเลขาขำ เจ้ามุกดามาจำเพาะคราวเคราะห์กรรมป่วยประจำจึงบอก "คุณ" ออกมา "คุณ" ในที่นี้คือ คุณจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4 เป็นหลานปู่เจ้าอนุวงศ์ "สมเด็จฟ้ามาลากร" หมายถึง สมเด็จเจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีวงศ์เวียงจัน "กุณฑลฟ้า" หมายถึง เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทบุรี พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทองสุก เมื่อปีมะเมีย พุทธศักราช 2341 มีพระประวัติกล่าวไว้ในเรื่อง "ปฐมวงศ์" ว่า "พระองค์เจ้าจันทบุรี เจ้าจอมมารดาเป็นพระสนมเอก แลเป็นบุตรีเจ้าเมืองเวียงจันท์ แต่ก่อนโปรดฯ ให้เป็นแต่เพียงพระองค์เจ้าเหมือนกัน กับพระราชบุตรแลพระราชบุตรีพระองค์อื่นที่ประสูติแต่พระสนม เจ้าจอมมารดาของพระองค์เจ้านั้นสิ้นชีพในปีกุนเบญจศก เมื่อกรมพระราชวังบวรสวรรคตแล้วนั้น พระองค์เจ้านั้นมีพระชนมายุได้ห้าขวบ เป็นกำพร้าไม่มีเจ้าจอมมารดา ทรงพระกรุณามาก ภายหลังล่วงมาปีหนึ่งพระองค์เจ้านั้นตามเสด็จลงไปลอยกระทง วิ่งเล่นตกน้ำหายไป คนทั้งปวงเที่ยวหาอยู่ครู่หนึ่งจึงพบพระองค์เจ้าไปเกาะทุ่นหยวกอยู่ หาจมน้ำไม่ ผู้พบเชิญเสด็จกลับมาได้ จึ่งทรงพระกรุณาโปรดมากขึ้น มีพระบรมราชโองการดำรัสว่า พระองค์เจ้านี้เจ้าจอมมารดาก็เป็นเจ้าฝ่ายลาว อัยกาธิบดีคือเจ้าเวียงจันท์ก็ยังอยู่ ควรจะให้เลื่อนเป็นที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯ พระราชทานสุพรรณบัฏให้เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เจ้าฟ้าพระองค์นี้ได้เป็นพระวรราชชายานารีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย มีพระโอรสพระธิดาเป็นเจ้าฟ้าสี่พระองค์" พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่ประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ได้แก่ เจ้าฟ้าอาภรณ์ เจ้าฟ้ากลาง (สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์) เจ้าฟ้าหญิง (สิ้นพระชนม์ แต่ยังทรงพระเยาว์) และเจ้าฟ้าปิ๋ว ล้วนเป็นเชื้อวงศ์เวียงจันที่ทรงอุปการะสุนทรภู่ หน้า 34--จบ-- June 16, 20

เพราะฉะนั้น

ชาวกรุงเทพส่วนใหญ่จึงไม่ใช่ไทยแท้แน่นอน
เพราะไทยแท้จะต้องหน้าตาเหมือนรูปคนไทยข้างล่าง อิอิ

ที่มา http://www.dnhospital.com/watsun/watsun.htm

หน้าตาแบบไหน ถึงจะเรียกได้ว่าเป็น "ไทยแท้" ?

ลาวโซ่ง


กระเหรี่ยง


ลาวเวียง


จีน


มอญ


ล้านนา


เขมร


ไทยแท้



หน้าตาเผ่าพันธุ์แบบนี้ ผิวต้องสีนี้
ถึงเรียกข้าได้ว่าเป็น "ไทยแท้"
แห่งผืนแผ่นดินสยามประเทศ


อ่านต่อ : http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2162245#ixzz1PMb4JxZW

ຄົນລາວສອງຝັ່ງຂອງ ສ້່າງກຸງເທບ(ປະຣິວັດຈາກອັກສອນໄທຍ໌)

คอลัมน์ ภูมิสังคมวัฒนธรรม โดย โครงการสถาบันสุวรรณภูมิ สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร www.svbhumi.com e-mail : sv@svbhumi.com

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี (พระเจ้าตาก) โปรดให้เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) ยกทัพไปตีได้เมืองเวียงจันเมื่อ พ.ศ.2322 แล้วอัญเชิญพระแก้วมรกตลงมาประดิษฐานที่วัดอรุณราชวราราม กรุงธนบุรี ครั้งนั้นได้กวาดต้อนท้าวนางจากเมืองเวียงจัน รวมทั้งเชลยลาวชาวอีสานเข้ามาเป็นประชากรกรุงธนบุรีอีกด้วย หนึ่งในบรรดาท้าวนางเวียงจัน มี "เจ้าจอมแว่น" ที่มีความสำคัญในราชสำนักรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์จักรี (อ่านรายละเอียดได้ในหนังสือ โครงกระดูกในตู้ ของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สยามรัฐ, 2514 และขัตติยราชปฏิพัทธ์ ในศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 25 ฉบับที่ 4 กุมภาพันธ์ 2547) หลังจากนั้นยังกวาดต้อนลาวสองฝั่งโขงตั้งแต่หลวงพระบาง เวียงจัน จัมปาสัก และอีสาน เข้ามาสร้างกรุงเทพฯ แล้วตั้งหลักแหล่งเป็นชาวกรุงเทพฯสืบมา โปรดให้เกณฑ์ลาว (คืออีสานทุกวันนี้) เมืองเวียงจัน ตลอดจนหัวเมืองลาวริมแม่น้ำโขงฟากตะวันตก เข้ามาขุดรากก่อกำแพงพระนคร และสร้างป้อมเป็นระยะๆ รอบพระนคร ลาวที่ถูกเกณฑ์ทั้งหมดนี้ไม่ได้กลับถิ่นเดิม เพราะการสร้างบ้านแปลงเมืองไม่ได้เสร็จในคราวเดียว หากทำต่อเนื่องหลายรัชกาล พวกที่เกณฑ์มาจึงตั้งหลักแหล่งกระจายทั่วไปตามแต่นายงานจะสั่งให้อยู่ตรงไหน ทำงานที่ไหน ที่สุดแล้วก็สืบโคตรตระกูลลูกหลานตั้งหลักแหล่งถาวรอยู่ในบางกอกกลายเป็นคน กรุงเทพฯ เจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ใกล้ชิดสนิทสนมกับราชวงศ์จักรีมาก่อนสถาปนากรุงเทพฯ เมื่อ พ.ศ.2325 ฉะนั้นเมื่อสร้างกรุงเทพฯแล้ว จึงโปรดให้สร้างวังเจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ขึ้นที่บางยี่ขัน ริมแม่น้ำเจ้าพระยา (ใกล้โรงเหล้าบางยี่ขัน) สำหรับเป็นที่อยู่เมื่อลงมากรุงเทพฯ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันอีกชื่อหนึ่งว่า วังบางยี่ขัน ราชสำนักกรุงเทพฯ-ราชสำนักเวียงจัน ความใกล้ชิดเสมือน "เครือญาติ" ระหว่างราชสำนักกรุงเทพฯกับราชสำนักเวียงจัน ตั้งแต่ก่อนสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ.2325 ดูได้จาก "ร่างตราเมืองเวียงจัน" ที่รัชกาลที่ 2 โปรดให้ส่งไปพระราชทานเจ้าอนุวงศ์เวียงจัน แล้วสมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ค้นพบถวายรัชกาลที่ 5 พิมพ์ในพระราชวิจารณ์ว่า "กรมหลวงดำรงไปค้นได้ร่างตรา มีขึ้นไปถึงเจ้าอนุเวียงจันทน์ ว่าด้วยเรื่องทำสวนนี้ มีข้อความละเอียดลออไพเราะดีมาก ควรจะเห็นได้ว่าเป็นพระกระแสพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ารับสั่งเรียงเอง ไม่ใช่เจ้าพระยาอภัยภูธรแต่งเป็นแน่ ต้องเป็นผู้ที่ได้คิดและได้เห็นงานแล้วจึงจะเรียงลงได้ เพราะราวกับบทละคร" วังเจ้านาย "วงศ์เวียงจัน" ที่บางยี่ขัน เจ้านายขุนนาง "ผู้ดี" ในกรุงเทพฯมีเชื้อสายลาวไม่มากก็น้อย ทั้งลาวเวียงจัน ลาวหลวงพระบาง ลาวจัมปาสัก และลาวอีสาน ดังมีพยานในหนังสือ นิราศวังบางยี่ขัน ของคุณพุ่ม แต่งเรื่องตามเสด็จพระองค์เจ้านารีรัตนาไปเยี่ยมพระญาติ เมื่อปีมะเส็ง พ.ศ.2412 (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา โปรดให้พิมพ์เมื่อ ปีจอ พ.ศ.2465) มีข้อเขียน นำเรื่อง นิราศวังบางยี่ขัน เรียบเรียงโดยอาจารย์บุญเตือน ศรีวรพจน์ (กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร เมื่อรวมพิมพ์ใน กวีสยามนำเที่ยวกรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มติชน, 2545) สรุปว่า กลอนนิราศวังบางยี่ขันของคุณพุ่มนี้ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านารีรัตนา โปรดฯให้พิมพ์ขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปีจอ พุทธศักราช 2465 ในการพิมพ์ครั้งนั้นได้ทำเชิงอรรถอธิบายความไว้ด้วย นับว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง โดยเฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับนามบุคคลต่างๆ ใน "วงศ์เวียงจัน" ซึ่งองค์ผู้โปรดฯ ให้พิมพ์ทรงรู้จักเป็นอย่างดี เรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับ "วงศ์เวียงจัน" ที่ "เมื่อเดิมทีมีบุญสกุลสูง กลายเปนยูงแล้วขยับกลับเป็นหงส์" นั้นไม่ปรากฏในเอกสารใดๆ มากนัก นิราศวังบางยี่ขันแม้จะเป็นกวีนิพนธ์สั้นๆ แต่สามารถให้รายละเอียดบางประเด็นที่เกี่ยวกับเจ้านายฝ่ายกรุงเทพฯที่สืบสาย มาจาก "วงศ์เวียงจัน" ส่วนวังบางยี่ขันและ "บ้านลาวชาวเวียงจัน" ที่เคยอยู่ในบริเวณดังกล่าว ปัจจุบันไม่มีหลักฐานเหลือให้เห็น นอกจาก "พระแทรกคำ" พระประธานในพระอุโบสถวัดคฤหบดี อันเป็นอนุสรณ์ของ "หมดบุรินทร์สิ้นสูญอาดูรโดย เวียงจันท์โรยร้างราเป็นป่าไป" ให้ลูกหลานลาวเวียงได้รำลึกถึง สุนทรภู่เมื่อสิ้นแผ่นดินรัชกาลที่ 2 ก็ฝากตัวอยู่กับเจ้าฟ้าอาภรณ์กับเจ้าฟ้าปิ๋ว พระราชโอรสในรัชกาลที่ 2 ซึ่งประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ที่ทรงเป็นเชื้อสายราชวงศ์เวียงจัน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวบวรราชาภิเษกแล้ว สุนทรภู่ก็เข้ารับราชการอยู่ในพระราชวังบวร ที่ทรงคุ้นเคยกับเจ้านายฝ่ายเวียงจัน คราวที่กองทัพไทยยกไปตีเมืองเวียงจันในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อพุทธศักราช 2369 ครั้งนั้นเจ้านายในราชสำนักกรุงเทพฯ ตลอดจนขุนนางไทยอาจมีทั้งผู้ที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วย ครั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ จึงทรงพยายามขจัดข้อขัดแย้งดังกล่าว จะเห็นได้จากการที่ทรงสถาปนา "เจ้าฟ้ากลาง" พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ซึ่งประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ขึ้นเป็นเจ้าฟ้ามหามาลา และกรมขุนบำราบปรปักษ์ ตามลำดับ พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวก็โปรดฯให้สร้างตำหนักขึ้นบริเวณชุมชน ลาวเวียงจัน ที่ตำบลสีเทา แขวงเมืองสระบุรี วังบางยี่ขันเป็นสถานที่พำนักของเจ้านายวงศ์เวียงจันมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อเจ้าอนุวงศ์ซึ่งเป็นเจ้าปู่ของเจ้าจอมมารดาดวงคำยังอยู่ในกรุงเทพฯ ก็พำนักอยู่ที่วังบางยี่ขัน ครั้งนั้นเจ้าอนุวงศ์จัดให้มีการฝึกหัดละครขึ้นที่นี่ด้วย วังบางยี่ขันน่าจะอยู่เหนือวัดคฤหบดีขึ้นไป ตามที่คุณพุ่มพรรณนาว่า "เขาสมเสพเรียกทางบางยี่ขัน ยังไม่ถึงบ้านลาวชาวเวียงจัน" ครั้นพระองค์เจ้านารีรัตนาเสด็จถึง "พวกที่วังบางยี่ขันพันธุ์พระญาติ" ก็มารับเสด็จ พระญาติฝ่ายเจ้าจอมมารดาดวงคำซึ่งอยู่ที่วังบางยี่ขันตามที่ปรากฏในนิราศ คือ เจ้าแม่แก้ว (น่าจะเป็นมารดาของเจ้าจอมมารดาดวงคำ) เจ้าลุงจอม (น่าจะมีศักดิ์เป็นลุงของเจ้าจอมมารดาดวงคำ) และเจ้าจันทรเทพสุริยวงศ์ เจ้าเมืองมุกดาหาร เนื้อความในนิราศตอนนี้กล่าวถึงเจ้านายชั้นผู้ใหญ่ในพระราชวงศ์จักรีที่พระ มารดามีเชื้อสาย "วงศ์เวียงจัน" ๏ แต่เจ้าเมืองมุกดาได้มาปะองค์พระดนัยนาถเสนหา คือพระสายสุดกระษัตริย์รัตนาเป็นนัดดาเนื้อนพคุณนาม เฉลิมวงศ์เวียงจันโดยอันดับสืบสลับในจังหวัดกระษัตริย์สยาม พระน้องน้อยนงนุชนั้นสุดงามทรงพระนามประดิษฐาสร้อยสารี มิได้ตามบาทบงสุ์พระองค์ใหญ่เสด็จอยู่ในตึกตำหนักเป็นศักดิ์ศรี ได้มาชมสมถวิลก็ยินดีจดบาญชีชื่อเสียงชาวเวียงวงศ์ เมื่อเดิมทีมีบุญสกุลสูงกลายเปนยูงแล้วขยับกลับเปนหงส์ อันชาวศรีสัตนหุตสมมุติพงศ์ร่วมพระวงศ์สมเด็จฟ้ามาลากร คือกรมขุนบำราบปรปักษ์เฉลิมหลักโมลิศอดิศร เปนวงศ์เวียงเรียงลำดับไม่ซับซ้อน กับสมรเสมอทรวงแม่ดวงคำ แลนับเนื่องเบื้องยุคลกุณฑลฟ้าวงศ์จังหวัดสัตนาเลขาขำ เจ้ามุกดามาจำเพาะคราวเคราะห์กรรมป่วยประจำจึงบอก "คุณ" ออกมา "คุณ" ในที่นี้คือ คุณจอมมารดาดวงคำ ในรัชกาลที่ 4 เป็นหลานปู่เจ้าอนุวงศ์ "สมเด็จฟ้ามาลากร" หมายถึง สมเด็จเจ้าฟ้ามหามาลา กรมพระยาบำราบปรปักษ์ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดีวงศ์เวียงจัน "กุณฑลฟ้า" หมายถึง เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี พระนามเดิมว่า พระองค์เจ้าจันทบุรี พระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาทองสุก เมื่อปีมะเมีย พุทธศักราช 2341 มีพระประวัติกล่าวไว้ในเรื่อง "ปฐมวงศ์" ว่า "พระองค์เจ้าจันทบุรี เจ้าจอมมารดาเป็นพระสนมเอก แลเป็นบุตรีเจ้าเมืองเวียงจันท์ แต่ก่อนโปรดฯ ให้เป็นแต่เพียงพระองค์เจ้าเหมือนกัน กับพระราชบุตรแลพระราชบุตรีพระองค์อื่นที่ประสูติแต่พระสนม เจ้าจอมมารดาของพระองค์เจ้านั้นสิ้นชีพในปีกุนเบญจศก เมื่อกรมพระราชวังบวรสวรรคตแล้วนั้น พระองค์เจ้านั้นมีพระชนมายุได้ห้าขวบ เป็นกำพร้าไม่มีเจ้าจอมมารดา ทรงพระกรุณามาก ภายหลังล่วงมาปีหนึ่งพระองค์เจ้านั้นตามเสด็จลงไปลอยกระทง วิ่งเล่นตกน้ำหายไป คนทั้งปวงเที่ยวหาอยู่ครู่หนึ่งจึงพบพระองค์เจ้าไปเกาะทุ่นหยวกอยู่ หาจมน้ำไม่ ผู้พบเชิญเสด็จกลับมาได้ จึ่งทรงพระกรุณาโปรดมากขึ้น มีพระบรมราชโองการดำรัสว่า พระองค์เจ้านี้เจ้าจอมมารดาก็เป็นเจ้าฝ่ายลาว อัยกาธิบดีคือเจ้าเวียงจันท์ก็ยังอยู่ ควรจะให้เลื่อนเป็นที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า จึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯ พระราชทานสุพรรณบัฏให้เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี เจ้าฟ้าพระองค์นี้ได้เป็นพระวรราชชายานารีในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย มีพระโอรสพระธิดาเป็นเจ้าฟ้าสี่พระองค์" พระราชโอรสและพระราชธิดาในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ที่ประสูติแต่เจ้าฟ้ากุณฑลทิพยวดี ได้แก่ เจ้าฟ้าอาภรณ์ เจ้าฟ้ากลาง (สมเด็จฯเจ้าฟ้ากรมพระยาบำราบปรปักษ์) เจ้าฟ้าหญิง (สิ้นพระชนม์ แต่ยังทรงพระเยาว์) และเจ้าฟ้าปิ๋ว ล้วนเป็นเชื้อวงศ์เวียงจันที่ทรงอุปการะสุนทรภู่ หน้า 34--จบ-- June 16, 20

เพราะฉะนั้น

ชาวกรุงเทพส่วนใหญ่จึงไม่ใช่ไทยแท้แน่นอน
เพราะไทยแท้จะต้องหน้าตาเหมือนรูปคนไทยข้างล่าง อิอิ

ที่มา http://www.dnhospital.com/watsun/watsun.htm

หน้าตาแบบไหน ถึงจะเรียกได้ว่าเป็น "ไทยแท้" ?

ลาวโซ่ง


กระเหรี่ยง


ลาวเวียง


จีน


มอญ


ล้านนา


เขมร


ไทยแท้



หน้าตาเผ่าพันธุ์แบบนี้ ผิวต้องสีนี้
ถึงเรียกข้าได้ว่าเป็น "ไทยแท้"
แห่งผืนแผ่นดินสยามประเทศ


อ่านต่อ : http://www.dek-d.com/board/view.php?id=2162245#ixzz1PMb4JxZW

13 June 2011

ພຣະໂພທິວໍຣະວົງສາມະຫາກະສັດຕາທິຣາຊເຈົ້າ ໃນສີລານີ້ ກະສັດເມືອງໃດ ?


- ມີຫຼັກສີລາຈາຣືກຫຼາຍຫຼັກ ທີ່ເຮົາສາມາດນໍາມາອ້າງອີງໄດ້ ກ່ຽວກັບການຂຽນອັກສອນລາວຕາມເຄົ້າ ເຮົາອ້າງອີງໃນໜັງສືທີ່ປະກົດໃນສີລາຈາຣືກ ທີ່ເປັນອັກສອນລາວແທ້ໆ ທີ່ເຮົາພົບເຫັນໃນລາວ ທີ່ມີອາຍຸ ໗໐໐ ປີລົງມາ ທີ່ລາວເຮົາໄດ້ຮັບເອກະຣາດ ແລະປົກຄອງດິນດອນຕອນທີ່ເປັນອານາຈັກ ລ້ານຊ້າງນີ້ ເປັນຕົ້ນມາ, ແຕ່ເຮົາສາມາດອ​​​ອ່ານພົບສີລາຈາຣືກອັກສອນລາວ ຢ່າງຫຼວງຫຼາຍຈະຢູ່ໃນປະມານ ໔ ຫາ ໕ ຮ້ອຍປີຜ່ານມາ
- ດັ່ງສີລາຈາຣືກ ວັດສຸວັນ ບ້ານເກິນ ວຽງຄໍາຫຼັກນີ້ ເປັນສີລາຈາຣືກໝາຍຂອບເຂດວັດສຸວັນ ບ້ານເກິນ ວຽງຄຳ ເປັນຫຼັກທີ່ສົມບູນທີ່ສຸດ ເທົ່າທີ່ພົບ ມາ ທີ່ໄດ້ຂຽນດ້ວຍອັກສອນລາວ ໃນສ່ວນທີ່ເປັນການລົງຣືກ ດ້ານເທິງ ເຂົາຂຽນດ້ວຍອັກສອນທັມ ແຕ່ຂຽນທີ່ເປັນຈາຣຶກນັ້ນ ແມ່ນຂຽນດ້ວຍອັກສອນລາວ ເຖິງວ່າອັກສອນທີ່ເຫັນຈະແປກຕາບັນດາທ່່ານກໍຕາມ ແຕ່ນັ້ນ ຄືອັກສອນລາວຂອງເຮົາແທ້ ໆ ເມື່ອ ໓໘໘ ປີຜ່ານມາ.

- ອາຍຸຂອງສີລາຈາຣືກ
- ເທົ່າທີ່ປາກົດໃນສ່ວນຫົວຈະແຈ້ງ ຂຽນໄວ້ດ້ານຊ້າຍ ຂອງວົງຣືກວ່າ ໙໘໕ (ເປັນຈຸລະສັກກາຊ) ກໍເອົາຈຸລະສັງກຣາຊປີນີ້ມາຕັ້ງ ແລ້ວລົບດ້ວຍປີສັງກາດ ທີ່ປາກົດໃນສີລາຈາຣືກ ຈະໄດ້ອາຍຸປີບັນທຶກສີລາລືກ ຄື:

- ປີນີ້ ປີຈຸລະສັງກາດ ໑໓໗໓ - ໙໘໕ = ໓໘໘ ປີ (ຂະນະຂຽນ ວັນທີ ໑໓ ເດືອນມິຖຸນາ ໒໐໑໑)
- ແລ້ວກໍາອາຍຸສີລາຈາຣືກໄດ້ລົບຫາປີຈາຣືກສີລາຈາຣືກນີ້:
- ເອົາ ພ.ສ ປັດຈຸບັນຕັ້ງ ໒໕໕໔ - ໓໘໘ = ປີສະຫຼັກສີລາຈາຣືກນີ້ ກໍຄື ປີ ພ.ສ ໒໑໖໖
- ແລ້ວ ຄ.ສ ປັດຈຸບັນຕັ້ງ ໒໐໑໑ - ໓໘໘ = ປີສະຫຼັກສີລາຈາຣືກນີ້ ກໍຄື ປີ ຄ.ສ ໑໖໒໓

- ສີລາຈາຣືກນີ້ ມີອາຍຸ ໓໘໘ ປີໂດຍປະມານ ຈະຫຼຸດຈະລີື່ນ ເສດໄປກໍແມ່ນ ເດືອນເລັກໆນ້ອຍ ຈະປັດຖິ້ມໄປ, ແຕ່ເຮົາມາເບິ່ງ ເລື່ອງຂອງປະຫວັດສາດຂອງເມືອງບ້ານເກິນ ວຽງຄຳ ແລະຫຼັກຖານ ໃນອັກສອນລາວບູຮານໃນເມື່ອ ໓໘໘ ກວ່າປີຜ່ານເຫັນວ່າມີຄວາມອຸດົມສົມບູນ ທີ່ສຸດ.

- ໃນສີລາຈາຣືກ ນີ້ໄດ້ປາກົດສະຖານທີ່ຈະແຈ້ງວ່າ ເປັນວັດສຸວັນ ບ້ານເກີນ ວຽງຄໍາ ແລະບັນທຶກນີ້ ເປັນການບອກໄວ້ຈະແຈ້ງວ່າ ເປັນຊາຕາວັດ ຈຶ່ງບໍ່ເປັນການສົງໄສແລ້ວວ່າສີລາຈາຣືກນີ້ ເວົ້າເຖິງຫຍັງ ພຽງແຕ່ວ່າເຮົາຢາກຮູ້ວ່າວັດສຸວັນ ບ້ານເກິນ ວຽງຄຳນັ້ນຢູ່ໃສລະຫວ່າງ ທີ່ບ້ານເກິນປັດຈຸບັນ ກັບບ້ານວຽງຄຳ ທີ່ຢູ່ແຖວໆປາກຄະຍູງ ໃນເມືອງວຽງຄຳປັດຈຸບັນ, ທັງສອງຂໍ້ສົງໄສນີ້ ເປັນໄປໄດ້ທັງສອງ ຄື

໑. ຫາກເປັນວັດທີ່ຕັ້ງຢູ່ບ້ານເກິນ ເມືອງທຸຣະຄົມ ເຮົາແທ້ສະແດງວ່າ ບ້ານເກິນນີ້ ເປັນເມືອງວຽງຄໍາ ມາແຕ່ອະດີດແລ້ວ. ໒. ຫາກແມ່່ນວັດສຸວັນນະຕັ້ງ ຢູ່ໃນຝັ່ງເມືອງວຽງຄຳ ປັດຈຸບັນ ໃນຈາຣືກວ່າ ບ້ານເກິນວຽງຄຳ ກໍສະແດງ ໃຫ້ເຫັນວ່າ ບ້ານເກິນ ເປັນສ່ວນໜຶ່ງຂອງເມືອງວຽງຄໍາ ຫຼືໃນເມື່ອ ໓໘໘ ປີຜ່ານມານີ້ ບ້ານເກີນປາກົດຊື່ແລ້ວໃນປະຫວັດສາດ. (ເນື່ອງຈາກຫຼັກຖານເຮົາບໍ່ທັນພຽງພໍ ເນື່ອງຈາກເຮົາບໍ່ມີປະຫວັດສາດ ອື່ນໆມາອ້າງອີງ ເພາະປະຫວັດສາດທີ່ເຮົາມີທຸກໆສະບັບ ເປັນປະຫວັດ ສາດລວມເທົ່ານັ້ນ ຫຼືເຮົາຈະຮຽກວ່າແມ່ແບບປະຫວັດສາດ(ປະຫວັດສາດແຫ່ງຊາດ), ສ່ວນປະຫວັດສາດໃນລາຍລະອຽດ ຍັງບໍ່ມີໃຜຂຽນເລີຍ ຫຼືບັນທຶກໄວ່້ເລີຍ, ເຮົາຍັງຂາດປະຫວັດສາດທ້ອງຖິ່ນ ຈຶ່ງບໍ່ສາມາດທີ່ຈະສືບຄົ້ນ ຄວາມຣະອຽດຂອງເມືອງວຽງຄໍາໄດ້ຈະແຈ້ງ ເມື່ອທ້າຍເດືອນພຶດສະພາ ໄດ້ໄປທ່ຽວແຖວນັ້ນ ກໍເລີຍມາທາງເມືອງວຽງຄໍາ ກໍໄປທ່ຽວວັດວຽງຄໍາ ແລ້ວກໍອອກມາທາງບ້ານເກີນ ຈາກວັດວຽງຄໍສ ມາທ່າບັກບ້ານເກິນ ປະມານ ໕ ກິໂລແມັດ, ຫຼັກຖານນີ້ ເປັນໄປໄດ້ບ້ານເກິນ ເປັນສູນກາງຂອງເມືອງວຽງຄໍາ) ແຕ່ຢ່າງໃດກໍຕາມ ໃນສີລາຈາຣືກນີ້ ເຮົາກໍຮູ້ໄດ້ຈະແຈ້ງແລ້ວວ່າ ເມືອງວຽງຄໍາ ທີ່ປະກົດຕົວກ່ອນປີ ໑໓໕໓ (ສະໄໝພຣະເຈົ້າຟ້າງຸ່ມ) ປະກົດຕົວວ່າວຽງໄຜ່ໜາມ ເມື່ອ ພຣະເຈົ້າຢ້າງຸ່ມເອົາຊະນະພຣະຍາເພົາແລ້ວ ກໍປ່ຽນນາມເມືອງເປັນວຽງຄໍາ ແລະມາຮອດປີ ຄ.ສ ໑໖໒໕ ນັ້ນ, ຄືຫຼັງຈາກຕັ້ງວຽງຈັນເປັນຣາຊະທານີ ໃນປີ ໑໕໖໐ ນັ້ນພຽງ ໖໓ ປີ ແລະໃນນັ້ນ ກໍປະກົດຊື່ພຣະເຈົ້າໄຊຍະເຊດຖາຢ່າງຈະແຈ້ງ ແລ້ວພຣະໂພທິວໍຣະວົງ ມະຫາກະສັຕຣາທິຣາຊະເຈົ້ານີ້​ແມ່ນໃຜ ? ເປັນກະສັດອົງໃດ ອານາຈັກລ້ານຊ້າງຈັນທະບູຣີ ຫຼືເປັນກະສັດອົງໃດ ຂອງເມືອງວຽງຄໍາລະ ?