25 June 2011

ຄຳນັບຈຳນວນໃນພາສາອາຫົມ(ໃນຣັຖອັສສັມ) ປະເທດອິນເດັຍ

- ໃນການັບເລກຂອງອາຫົມ ເຊິ່ງເປັນພາສາລາວກຸ່ມໜຶ່ງ ໃນກຸ້ມພາສາໄຕ-ກາໄດ ມີສໍານຽງຄ້າຍລາວເໜືອ ແລະໄທລາວລ້ານນາ ບໍ່ເໝືອນການນັບໃນພາສາໄທຍ໌ປັດຈຸບັນ.
1. ເອັດ = ໜຶ່ງ (Et)
2. ສຊອງ = ສອງ (Zhong)
3. ສຊາມ = ສາມ (Zham)
4. ຊສີ່ = ສີ່ (Zhii)
5. ຫ່າ = ຫ້າ (haa)
6. ຫຣຸກ = ຫົກ (Hruk)
7. ຈິດ = ເຈັດ (Cid)
8. ເປັດ = ແປດ (Pet)
9. ເກົ່າ = ເກົ້າ (Kao)
10. ຊສິບ = ສິບ (Zhip)

- ໝາຍເຫດ: ຊສ (ເທົ່າກັບສຽງ ສ.ສິ່ງ) ອັກສອນ 41 ລາວໂຕ ສ ມີ ສ.ເສືອ, ສ.ບ, ສ.ສິ່ງ; ເນື່ອງຈາກອັກສອນລາວປັດຈຸບັນ ບໍ່ໃຊ້ ສ.ສິ່ງ ຈຶ່ງອະຸນະໂລມ ຊສ ເປັນການຂຽນໃນເວບນີ້ ສ່ວນ Zh ແມ່ນທຽບສຽງໃຫ້ອອກຕາ S, Sh, Ch ນັ້ນ ຢ່າງໃດກໍຕາມ ຊສ ໃຫ້ອອກສຽງຕ່າງ ຈາກ ສ.

New sky My country.

ທ້ອງຟ້າໃສ ສີສົດສວຍ ແດດສ່ອງແສງ
ຟ້າຍາມແລ້ງ ແດດທໍແສງ ປົນລົມໜາວ
ມອງທ້ອງຟ້າ ເຫັນເມກໜາ ເປັນຄັ້ງຄາວ
ຟ້າສະກາວ ເຝື້ອສີຂາວ ຢາຍເປັນຖັນ

ມອງນະພາ ສວຍສົດໃສ ເປັນສີຟ້າ
ເມກສະຫງ່າ ລອຍໂດດເດັ່ນ ເກາະກຸ່ມກັນ
ຫຼຽວແລມອງ ໄປໃກ້ໄກ ໃຈກະສັນ
ປຸ້ມລຸມກັນ ໄຫຼລຸດລ້າຍ ຢາຍກັນໄປ



ບາງກຸ່ມເມກ ມອງບໍ່ໜ່າຍ ຊວນໃຫ້ຝັນ
ບາງກ້ອນນັ້ນ ເປັນຮູບຮ່າງ ດັ່ງນໍ້າໃຫຼ
ປະດຸດດັ່ງ ຈິດຕະກອນ ຜູ້​ຍິ່ງໃຫຍ່
ວາດພາບໄວ້ ໃນທ້ອງຟ້າ ໜ້າພິລົມ

ກຸ່ມກ້ອນໜຶ່ງ ເໝືອນຮູບຊ້າງ ຣາຊະສີຫ໌
ກຸ່ມກ້ອນນີ້ ມີຮູບຮ່າງ ດັ່ງພຣະພຣົມ
ພຸ້ນກຸ່ມໜຶ່ງ ເໝືອນດັ່ງຮູບ ຂຸນບູຣົມ
ແສນງາມສົມ ຊາບເຊິ່ງໃຈ ໃນຄວາມຫວັງ

ອີກກຸ່ມໜຶ່ງ ເໝືອນອິນຊີ ນາກແລະລວງ
ໃຫຼຄົດຄວ້າງ ງາມສະຫງ່າ ດັ່ງຫອຍສັງ
ຮູບສີໂຫ ກໍາລັງເຫາະ ເປັ່ງພະລັງ
ຕາມຄໍາສັ່ງ ຂອງສິນໄຊ ເລັ່ງເພັ່ງສອນ

ອີກກຸ້ມໜຶ່ງ ເໝືອນດັ່ງຮູບ ເຈົ້າຟ້າງຸ່ມ
ຢືນຄວບຄຸມ ພົນທະຫານ ຕະລຸມບອນ
ບົນຫຼັງຊ້າງ ກຼິທາທັບ ກັບນະຄອນ
ຮີບໂຮມທ້ອນ ສ້າງລ້ານຊ້າງ ຢ່າງມີໄຊ

ເມື່ອແລມອງ ຮູບເມກ ເສກເຊັ່ນຣົດ
ເໝືອນບັນພົດ ພາບພູສີ ພຣະທາດໃຫຍ່
ພຣະທາດຫຼວງ ອົງເອກອ້າງ ພຣະເຈົ້າໄຊ
ກໍ່ສ້າງໄວ້ ເປັນມິ່ງຂວັນ ໃນວຽງຈັນ

ເບິ່ງພາບນັ້ນ ງາມໂດດເດັ່ນ ເຫັນກັນຄັກ
ເອກະລັກ ຄວາມອົງອາດ ຊາດສຸກສັນ
ອະນຸວົງ ອົງກະສັດ ປະຈັນບານ
ຕໍ່ສູ້ມານ ຮາວີ ສັກສີລາວ

ໂອກຸ່ມເມກ ສີຂາວໃສ ໃນທ້ອງຟ້າ
ແສນມີຄ່າ ຟ້າຜືນໃໝ່ ຮຸ່ງແສງພາວ
ໃນແດນນີ້ ທົ່ວທຸກຖິ່ນ ດິນເມືອງລາວ
ຊາດຕ້ອງກ້າວ ຫາກຄົນລາວ ຖືຄອງທັມ
(ຈົບບໍຣິບູນ)

ກົນເມີງລ້ານນາ ຍິນດີແລ້້ວເຈົ້າ

19 June 2011

ພຣະທາດບັງພວນ

- ພຣະທາດບັງພວນ ເປັນພຣະທາດເຈດີເກົ່າແກ່ແລະສຳຄັຍຍິ່ງຂອງຈັງຫວັດ(ແຂວງ)ໜອງຄາຍ ແລະເປັນພຣະທາດທີ່ສຳຄັນອົງໜຶ່ງຂອງ ພາກອີສານ ປະດິເສະຖານທີ່ບ້ານພຣະທາດບັງພວນ ຕຳບົນພຣະທາດບັງພວນ ອຳເພີເມືອງ ຈັງຫວັດແຂວງໜອງຄາຍ.
img.laoupload.com | ບໍລິການ ອັບໂຫລດຮູບ ຝາກຮູບ ດາວໂຫລດຮູບ ເກັບຮູບ ສົ່ງຮູບ ຮັກສາຮູບ ຟຣີ!!!!
- ຕຳນານອຸຣັງຄະທາດກ່າວວ່າ ພຣະຍາສຸວັນນະພິງຄານ ເຂົ້າເມືອງໜອງຫານຫຼວງ(ສາກົນນະຄອນ) ພຣະຍາຄຳແດງ ເຈົ້າເມືອງໜອງຫານນ້ອຍ(ອຸດອນທານີ) ພຣະຍາຈຸນລະນີພຣົມມະທັດ(ລາວເໜືອ) ພຣະຍາອິນທະປັຕຖະນະຄອນ(ຂະເໝນ- ອາດເປັນຈຳປາສັກ) ພຣະຍານັນທະເສນ ເຈົ້າເມືອງສີໂຄຕບູນຫຼວງ (ອາດເປັນເມືອງຮ້າງໜອງເຮືອທອງ) ໄດ້ຮ່ວມກັນອຸປະຖັມ ພຣະມະຫາກັສສະປະ ພ້ອມດ້ວຍພຣະອໍຣະຫັນ 500 ອົງ ທຳການກໍ່ສ້າງສ້າງ.

- ຕາມໜັງສືອຸຣັງຄະທາດ ແລະໜັງສືປະຫວັດພຸດທະສາສນາໃນລາວ ຂອງຄຳ ຈຳປາແກ້ວມະນີ ໄດ້ກ່າວວ່າ "ບູຣີຈັນ ເປັນຄົນໃຈບຸນ ໄດ້ມາເຮັດນາຢູ່ໜອງຄັນແທ ເຊື້ອນໍ້າ (ບໍຮິເວນຮ່ອງແກ-ຮ່ອງແຊງ-ບຶງທາດຫຼວງປັດຈຸບັນ) ພຣະຍານາກໄດ້ຍົກໃຫ້ບູຣີຈັນອ່ວຍລວຍ ໃຫ້ເປັນ ເຈົ້າຄອງນະຄອນຈັນທະບູຣີ ແລະພຣະອໍຣະຫັນ ຄືພຣະມະຫາພຸດທະວົງສາ ກັບພຮະມະຫາສັສສະດີ ໄດ້ມາຍັງເມືອງຈັນທະບູຣີ ກໍໄດ້ຮັບການອຸປະຖົມຈາກພຣະຍາຈັນທະບູຣີ ໄດ້ສ້າງວັດໃຫ້ພຣະອໍຣະຫັນທັງສອງພຳນັກສັ່ງສອນປະຊາຊົນໃນເມືອງຈັນທະບູຣີ ພຣະມະຫາພຸດທະວົງສາ ຢູ່ວັດປ່າແຄມບຶ່ງກໍ້າໃຕ້ (ວັດໂສກປ່າຫຼວງ-ໂຮງໝໍ 103-ຮຮ.ສັບພະວິຊາ) ພຣະມະຫາສັສສະດີ ຢູ່ວັດປ່າໂພນເໜືອນໍ້າ (ບໍຣິເວນຕຳວັດທາດຝຸ່ນ-ຮຮ.ອຸດົມວຽງຈັນ-ແຖວອະນຸສາວະຣີ-ຮອດບ້ານໂພນໄຊຍ໌) ພຣະອໍຣະຫັນທັງສອງ ໄດ້ສັ່ງສອນຊາວເມືອງຈັນທະບູຣີ ໃຫັນັບຖືພຸດທະສາສນາຢ່າງຫຼວງຫຼາຍ ຈົນສ້ຽງອາຍຸໄຂ ພຣະຍາຈັນທະບູຣີ ໄດ້ສ້າງເຈດີກໍ່ກວາມ ສາຣິກະທາດພຣະອໍຮະຫັນທັງສອງ ທີ່ວັດນັ້ນໆໆ ຕໍ່ມາໄດ້ມີພຣະຣະຫັນອີກ 3 ອົງໄດ້ເຂົ້າເຜີຍແຜ່ສາສນາອີກ ຄື ພຣະພຸດທະຣິກຂິດ ເຖະຣະ, ພຣະທັມມະຣິກຂິຕເຖຣະ ແລະພຣະສັງຄະຣິຂິດເຖຣະ ພຣະອໍຮະຫັນທັງ 3 ອົງໄດ້ເຜີຍແຜ່ສາສນາໄປໃນຫົວເມືອງຕ່າງໆ ທັງ 6 ຫົວເມືອງ ທີ່ມີມາແຕ່ສະໄໝສີໂຄດຕະບອງ ຈຶຶ່ງມີລູກສິດຫຼວງຫຼາຍ ໃນນັ້ນມີພຣະສົງລາວທີ່ມີຄວາມສຳຄັນ ແລະມີວິໄສທີ່ຈະເປັນກົກແກ່ນ ຂອງສາສນາໃນອະນາຄົດໄດ້ 5 ອົງ, ພຣະອໍຣະຫັນທັງ 3 ຈຶ່ງໄດ້ນໍາພຣະສົງຊາວງທ້ອງຖິ່ນຈຳນວນ 5 ອົງໄປຍັງເມືອງຣາຊະຄືມະຫານະ ຄອນ ເພື່ອໄປຮຽນພຣະໄຕປິດົກຈົນສຳເຣັດ ແລະໄດ້ເປັນອໍຣະຫັນ ຈຶ່ງນຳລູກສິດທັງຫ້ານັ້ນມາ ຍັງນະຄອນຈັນທະບູຣີ ພຣະອໍຣະຫັນ ທັງ 5 ນັ້ນ ມືນາມວ່າດັ່ງນີ້:

1. ພຣະມະຫາ ຣັຕຕະນະເຖຣະ
2. ພຣະມະຫາ ຈຸນລະລັຕຕະນະເຖຣະ
3.ພຣະມະຫາ ສຸວັນນະປາສາທະເຖຣະ
4. ພຣະມະຫາ ຈຸນລະສຸວັນນະປາສາທະເຖຣະ
5. ພຣະມະຫາ ສັງຄະວິຊາເຖຣະ
- ເມື່ອພຣະອໍຣະຫັນທັງ 5 ໄດ້ສຳເຣັດວິຊາທາງສາສນາແລ້ວ ພ້ອມດ້ວຍອາຈານທັງ 3 ອົງວິວັດກັບມາຍັງເມືອງຈັນທະບູຣີ ໄດ້ນຳພຣະບໍຣົມມະສາຣີຣິກະທາດຂອງພຣະພຸດມະເຈົ້າມາດ້ວຍ ຄື ພຣະຊິນະຄຸຍຫະທາດ ແລະພຣະສາຣີກະທາດອື່ນໆອີກ ຄື ດັ່ງນີ້

- ພຣະທາດຫົວເນົ່າບັນຈຸໄວ້ທີ່ພູເຂົາຫຼວງ ຫຼື ພູເຂົາລວງ(ແມ່ນພຣະທາດຫຼວງນີ້ເອງ ເພາະວ່າໃນສີລາຈາຣຶກທາດຫຼວງ ຮຽກວ່າ ຄຸຸຍຫະທຸ ປາໂຍ ແປວ່າ: ທາດທີ່ລັບຄື ດູກຫົວເນົ່າ ແຕ່ໜັງສືຕຳນານພຣະທາດບັງພວນ ຢູ່ບ້ານຫ້ວຍບັງພວນ ຈັງຫວັດໜອງຄາຍ ທີ່ຂຽນເປັນອັກສອນທັມ ຮຽກວ່າພູເຂົາຫຼວງ ຄຳວ່າລວງແປວ່າ ນາກ ດັ່ງນັ້ນຄຳວ່າພູເຂົາຫຼວງ ອາດຈະແປວ່າໂພນນາກ).

- ທາດຝາຕິນຂວາ ບັນຈຸໄວ້ທີ່ເມືອງຫຼ້າໜອງຄາຍ (ທາດໜອງຄາຍພັງລົງນ້ຳໝົດແລ້ວ ປັດຈຸບັນຢູ່ກາງນຳ້ຕໍ່ໜ້າວັດສັງກະຈາຍ ແລະປີ ໒໐໐໖ ທາງການເມືອງໜອງຄາຍໄດ້ສ້າງທາດອົງໃໝ່ຂຶ້ນແທນ ດັ່ງທີ່ເຫັນໃນປັດຈຸບັນນີ້).

- ທາດແຂ້ວຝາງ ບັນຈຸໄວ້ທີ່ວຽງງົວ ແລະທ່າຫໍແພ (ເຂົ້າໃຈວ່າແມ່ນບ້ານພະໂຄວຽງຄຸກ ຄື ທາດບັງພວນທຸກວັນນີ້).

- ໃນການບັນຈຸພຣະທາດຫົວເນົ່າ ໒໗ ອົງ ໄວ້ທີ່ພູເຂົາຫຼວງນັ້ນ ພຣະເຈົ້າຈັນທະບູຣີປະສິດທິສັກ ເຈົ້ານະຄອນວຽງຈັນທນ໌ ໄດ້ເປັນປະທານພຣະອົງໄດ້ ໃຫ້ກໍ່ອຸໂມງຫີນກວມໄວ້ ເຕົ້າຝາອຸໂມງທັງ ໔ ດ້ານນັ້ນ ກ້ວາງດ້ານລະ ໕ ວາ ແລະ ໜາ ໒ ວາ ລວງສູງໄດ້ ໔ ວາ ໓ ສອກ ເມື່ອໄດ້ທຳການບັນຈຸພຣະບໍຣົມມະທາດ ແລ້ວພຣະເຈົ້າຈັນທະບູຣີ ຈຶ່ງໄດ້ມີພຣະຣາຊອາດຍາໃຫ້ເສນາອາມາດສ້າງວິຫານ ຂຶ້ນໃນວຽງຈັນທນ໌ ໕ ຫຼັງ ເພື່ອໃຫ້ເປັນທີ່ຢູ່ຈຳວັດສາຂອງພຣະອໍຣະຫັນ ໕ ອົງນັ້ນ.

- ຈາກຫຼັກຖານທາງໜັງສື ອຸຣັງຄະທາດ ແລະໜັງສືປະຫວັດພຸດທະສາສນາໃນລາວ ແລະໜັງສືກ່ຽວກັບປະຫວັດເມືອງວຽງຈັນ ແມ່ນມີການ ເວົ້າກ່ຽວຂ້ອງກັນ ລະຫວ່າງພຣະທາດບັງພວນ, ພຣະທາດເມືອງຫຼ້າ ແລະພຣະທາດບັງພວນ.

- ຕາມການສຳຫຼວດຂອງທາງການໄທຍ໌ ໄດ້ເບິ່ງຕາມທາງບູຮານຄະດີ ພຣະທາດບັງພວງນມີການກໍ່ສ້ສືບເນື່ອງກັນມາ 3 ສະໄໝ, ຄືຖານເດີມ ສ້າງດ້ວຍສີລາແລງ, ຊັ້ນທີສອງສ້າງດ້ວຍດິນຈີເຜົາຄອບກວາມຊັ້ນແຮກ ແລະຕໍ່ມາມີການສ້າງໃຫ້ມີຂະໜາດສູງໃຫຍ່ຂຶ້ນ, ລັກສະນະທາງບູຮານຄະດີ 2 ຊັ້ນແຮກນັ້ນ ເຫັນວ່າສອດຄ່ອງກັບຫຼັກຖານທາງບັນທຶກໃນໜັງສອຸຣັງຄະນິທານ, ປະຫວັດວຽງຈັນ ແລະປະຫວັດອື່ນໆ ທີ່ມີຢູ່ ເພາະສີລາແລງ ແລະດິນຈີເຜົາທີ່ປາກົດ ແມ່ນເປັນລັກສະນະສະຖາປັດຕະຍະກັມ ເມື່ອ 2000 ພັນປີທີ່ແລ້ວ, ໃນນັ້ນ ທາງການໄທຍ໌ຍັງໄດ້ຂຸດພົບຫຼັກຖານສຳຄັນ ຄືໄດ້ຂຸດພົບພຣະພຸດທະຮູບ 6 ອົງ, ໃນນັ້ນ 4 ອົງໄດ້ພົບຈາຣືກຣະບຸວ່າ ສ້າງໄວ້ກົງກັບ ພ.ສ 2118 ພ.ສ 2150 ພ.ສ 2158 ແລະ ພ.ສ 2167 ແລະຂໍ້ຄວາມໃນຈາຣືກ ເມື່ອ ພ.ສ 2167 ນັ້ນ, ມີປະຫວັດການສ້າງ ໂດຍໄດ້ກ່າວເຖິງພຣະໂພທິສາລະຣາຊ ເຊິ່ງເປັນກະສັດແຫ່ງອານາຈັກລ້າງຊ້າງ ເຊິ່ງມີຣາຊະທານີຢູ່ນະຄອນທີ່ຊຽງທອງ(ຫຼວງພຣະບາງ) ເມື່ອເບິ່ງຕາມຮູບແບບການກໍ່ສ້າງບູຮານສະຖານໃນບໍຣິເວນພຣະທາດບັງພວນ ສະແດງເຖິງອິດທິພົນທາງວັດທະນະທັມສະຖາປັດ ຕະຍະກັມ ຂອງລ້ານຊ້າງ

- ເມື່ອເຮົາເບິ່ງ ປະຫວັດສາດລາວ ໂດຍສະເພາະພຣະຣາຊະກໍຣະນີຍະກິດຂອງພຣະເຈົ້າ ໂພທິສາລະຣາຊແລ້ວເຫັນວ່າສອດຄ່ອງກັນ ອັນໜຶ່ງ ເມື່ອປີ 2009 ທາງລາວໄດ້ສ້າງຫໍຫຼັກເມືອງນັ້ນ ໄດ້ພົບສີລາຈາຣືກອີກເປັນຄັ້ງທີ 2 ໃນນັ້ນ ກໍໄດ້ພົບຈາຣືກໃສ່ແຜ່ນຫີນສີລາ ມີອາຍຸຄາວດຽວ ກັນກັບຈາຣືກພຣະທາດບັງພວນ ກໍແມ່ນກົງກັບສະໄໝ ພຣະເຈົ້າໂພທິສາລະຣາຊເຊັ່ນກັນ ສະນັ້ນ, ຈຶ່ງພໍຢັ້ງຢືນໄດ້ວ່າ ການສ້າງພຣະທາດບັງ ພວນຊັ້ນທີ 3 ນີ້ແມ່ນຢູ່ໃນສະໄໝພຣະເຈົ້າໂພທິສາລາຣາດ.

- ພຣະທາດບັງພວນ ເປັນພຣະສາະຖູບເຈດີ ຊົງເຮືອປາສາດສີຫຼ່ຽມ ເປັນອົງປະທານເຊິ່ງມີຊື່ຢູ່ໃນສີລາຈາຣືກວ້າ ພຣະທາດບັງພວນນເຈດີສີສັຕຕະມະຫາທານ (ຄື ເຈດີມະຫາທານ ສັຕຕະມະຫາສະຖານ ຖື ສະຖານທີ່ທັງເຈັດ ທີ່ພຮະພຸດທະອົງ ສະເຫວິຍວິມຸດຕິສຸກ ຫຼັງຕັດສະຮູ້ໃໝ່ໆ) ນອກຈາກພຣະທາດອົງປະທານແລ້ວ ໃນນັ້ນຍັງມີກຸ່ມພຣະທາດຂະໜາດ ຕ່າງໆອີກ 15 ອົງ, ທາງການໄທຍ໌ໄດ້ສັນນິຖານວ່າ ຄົງຈະສ້າງໃກ້ຄຽງກັນັບພຮະທາດບັງພວນ ມີວິຫານ 3 ຫຼັງ ສິມ 1 ຫັຼງ ສະນໍ້າ ແລະສ້າງບູຮານ.

- ນອກຈາກນັ້ນ ຍັງມີບຮານສະຖານອີກກຸ່ມໜຶ່ງ ພາຍໃນບໍຣິເວນດຽວກັນຮຽກວ່າ "ສັຕຕະມະຫາສະຖານ" ອັນເປັນສະຖານກ່ຽວເນື່ອງ ກັບພຸດທະປະວັດ ເມື່ອຄັ້ງແຮກຕັດສະຮູ້ພຣະອະນຸຕະຣະສັມມາສັມໂພທີຍານ ທີ່ພຸດທະຄະຍາ ປະເທດອີນເດັຍ ສັຕຕະມະຫາສະຖານ ສ້າງຂຶ້ນມາພາຍຫຼັງ ມີຢູ່ 3 ແຫ່ງ ຄື ທີ່ປະເທດມຽນມ້າ 1 ແຫ່ງ, ຊຽງໃໝ່ 1 ແຫ່ງ ແລະພຣະທາດບັງພວນ 1 ແຫ່ງ.

- ຫາກເຮົາມອງອະດີດ ຈະເຫັນວ່າ ທີ່ປະເທດພະມ້າ ແລະລ້ານນານັ້ນ ເປັນດິນແດນທີ່ອຸດົມສົມບູນດ້ວຍພຸດທະສາສນາ ມາແຕ່ເດີມ ຈຶ່ງມີການສ້າງສັດຕະມະຫາສະຖານ, ແລ້ວເຮົາມາເບິ່ງເບື້ອງອານາຈັກລ້ານຊ້າງຂອງເຮົາ ໃນປະຫວັດສາດ ກໍກ່າວເຖິງພຣະພຸດທະສາສນາ ເຂົາມາເຜີຍແຜ່ແຕ່ສະໄໝພຣະພຸດທະເຈົ້າຊົງພຣະຊົນ ເຊິ່ງກ່ຽວຂ້ອງກັບໜັງສືພຣະເຈົ້າລຽບໂລກ ແລະຕໍ່ມາກໍຫຼັງ ພຸດທະການກໍແມ່ນເລີ່ມຈ່າກພຣະມະຫາກັດສະປະເຖຣະໄດ້ນໍາເອົາອຸຣັງຄະທາດມາປະດິດສະຖານໄວ້ພູເຂົາກໍາພ້າ ເມືອງສີໂຄຕະບູນຫຼວງ(ທ່າແຂກ) ແລະການກ່ຽວຂ້ອງກັບວັດພຣະບາດ, ພຣະທາດຫຼວງ ແລະອື່ນໆ ມາແຕ່ ພ.ສ 8 ພຸ້ນ, ພຣະທາດບັງ ພວນກໍກ່ຽວຂ້ອງກັບພຣະທາດຫຼວງ ໃນສະໄໝພຣະຍາຈັນທະບູຣີປະສິດທິສັກ, ເຈົ້າຄອງນະຄອນຈັນທະບູຣີ ພຣະທາດບັງພວນ ກໍ່ຄືພາກ ອີສານທັງໝົດ ແມ່ນສ່ວໜຶ່ງຂອງລ້ານຊ້າງ ໂດຍສະເພາະພຣະທາດບັງພວນ ແມ່ນເປັນສ່ວນໜຶ່ງຂອງອານາຈັກຈັນທະບູຣີ ແລະລ້ານຊ້າງທັງມວນ ເຖິງປັດຈຸບັນນີ້ພຣະທາດບັງພວນ ຈະເປັນສົມບັດຂອງໄທຍ໌ ແຕ່ເຮົາເບິ່ງເບື້ອງອະດີດ ເຫັນໄດ້ວ່າອານາຈັກລ້ານຊ້າງ ກໍຄືຊົນຊາວລາວເຮົາ ເປັນດແດນທີ່ມີພຸດທະສາສນາຈະເຣີນຮຸ່ງເຮືອງເໝືອນຊຸມພູທະວີບ(ໃນອະດີດ) ຫຼັກຖານຢັ້ງຢືນ ຄື ສັຕຕະມະຫາສະຖານສ້າງໃໝ່ 3 ແຫ່ງນອກສະຊຸມພູທະວີບ ຄື ມຽນມ້າ, ລ້ານນາ ແລະລ້ານຊ້າງ ຂອງລາວເຮົານີ້ເອງ.

ຕຳນານຄ້າຍເມືອງພັນພ້າວ

เดิมเป็นชื่อเมืองโบราณ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๐๗๘ เป็นต้นมา ปัจจุบันคือที่ตั้งอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ซึ่งนักโบราณคดีเชื่อว่า เดิมเป็นส่วนหนึ่งของเวียงจันทน์ฝั่งขวาด้านทิศตะวันตก ถ้าพิจารณาภาพถ่ายทางอากาศ จะเห็นแนวกำแพงและคูเมืองเดิมเป็นแนวเดียวกัน มีแม่น้ำโขงผ่ากลางแต่ซากโบราณสถานที่สำคัญอยู่ที่ บก.นปข.เขตหนองคายประมาณ ๑๕ ไร่เศษ ซึ่งเดิมเป็นค่ายพานพร้าวของรัชกาลที่ ๑ ครั้งยังเป็นเจ้าพระยาจักรีสมุหนายกมหาดไทย เมื่อครั้งยกทัพยึดเวียงจันทน์ พ.ศ. ๒๓๒๑ เจ้าพระยาจักรีได้นำกองทัพมาตั้งมั่นบริเวณนี้ และข้ามไปตีเมืองเวียงจันทน์สำเร็จโดยเจ้าสิริบุญสานทิ้งเมืองหนี พระยาจักรีได้นำพระแก้วมรกตและพระบางกลับมาค่ายนี้ (วัดพระแก้วบริเวณ นปข.) และได้นางพระกำนัลชื่อ "นางแว่น หรือนางคำแว่น"เป็นอนุภรรยาด้วย ต่อมาคือ"เจ้าจอมแว่นหรือคุณเสือ" พระสนมเอกแต่ไม่มีราชสกุล การปราบเวียงจันทน์ครั้งนี้เป็นเกียรติยศ ทำให้ล้านช้างเป็นเมืองประเทศราช ชาวเวียงจันทน์และศรีเชียงใหม่ จึงเรียกกุลสตีในอุดมคติว่า "นางเขียวค้อม" และเจ้าจอมแว่นผู้นี้ทำให้กองทัพไทยไม่ทำลายเมืองเวียงจันทน์ จึงเรียกศึกในครั้งนั้นว่า "ศึกนางเขียวค้อม" พ.ศ.๒๓๒๑ โดยมีวัดนางเขียวค้อม อยู่ใต้ บก.นปข. (นางเขียวค้อมในอุดมคติล้านช้างมีหลายคน เล่ากันว่ารัชกาลที่ ๑ ทรงพระราชปรีชาญาณ สร้างธาตุ (เจดีย์) ปิดรูพญานาคไว้ทำให้ออกมาช่วยเหลือเวียงจันทน์ไม่ได้จึงพ่นพิษจนเจดีย์นั้นดำไปหมดและเรียก "พระธาตุดำ" (ปัจจุบันอยู่ฝั่งประเทศลาว) สืบมาหลังจากรัชกาลที่ ๑ ปราบดาภิเษก พ.ศ. ๒๓๒๕ บริเวณนี้คงอุทิศให้เป็นวัด มิได้เป็นค่าย
เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๙-๒๓๗๑ พระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ เป็นกบฏ แต่ประวัติศาสตร์ของลาวบอกว่าพระองค์ประกาศกอบกู้เอกราชโดยจะไม่เป็นเมืองขึ้นของสยามประเทศต่อไป เมื่อเป็นเช่นนั้น รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าให้ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพ เป็นแม่ทัพหลวง พระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพหน้า ยกไปปราบกบฏตีเมืองเวียงจันทน์เป็นผลสำเสร็จ แต่ตามจับเจ้าอนุวงศ์ไม่ได้เพราะพระองค์พาครอบครัวอพยพหลบหนีไปพึ่งญวนที่เมืองพูซุนหรือเมืองเว้
ตามประวัติศาสตร์ลาวบันทึกตอนนี้ว่า "เมื่อเดือน ๖ แรม ๖ ค่ำ (1827) เจ้าอนุวงศ์ไม่อยากมีศึกอยู่กลางเมืองเวียงจันทน์ เพราะกลัวว่าตัวเมืองจะถูกเผาทำลาย จึงต้องอพยพไปพึ่งญวนเพื่อเตรียมการรบครั้งใหม่ ก่อนจะออกจากเวียงจันทน์เจ้าอนุวงศ์ได้สั่ง ซุกซ่อน ช้างม้า อาวุธ พระพุทธรูปทองคำ และสิ่งของสำคัญต่างๆ เท่าที่จะทำได้ พระองค์หนีไปได้สองวัน กองทัพสยามกองหน้าจึงเข้าเมืองเวียงจันทน์ได้
สมเด็จพระบวรเจ้าฯ ทรงเห็นว่าใกล้ฤดูฝนจะตามจับตัวเจ้าอนุวงศ์ไม่ได้ จึงกราบบังคมทูลรัชกาลที่ ๓ ขอยกทัพกลับกรุงเทพฯ ในพระราชสาสน์ว่า "พระบางหายไปสืบหายังไม่ได้ ได้แต่พระเสริม พระใส พระแทรกคำ พระแก่นจันทน์ พระสรงน้ำ พระเงินหล่อพระเงินบุ รวม ๙ องค์ แต่จะเอาลงไปกรุงเทพได้แต่พระแทรกคำองศ์หนึ่ง และพระพุทธรูปที่ส่งลงไปกรุงเทพมิได้นั้น จะได้ก่อพระเจดีย์ ณ ค่ายหลวงเมืองพันพร้าวเหนือวัด ฐานกว้าง ๕ วา สูง ๘ วา ๒ ศอก จะบรรจุพระพุทธรูปไว้เป็นที่สักการบูชา(พระพุทธรูปที่เหลือ ๘ องค์) เกณฑ์อิฐไพร่พลในกองทัพเสมอคนละ ๒ แผ่น แล้วจารึกนามว่า พระเจดีย์ปราบเวียงจันทน์"
ประวัติศาสตร์ลาวบันทึกตอนนี้ว่า เมื่อทหารสยามเข้ามาเวียงจันทน์ก็เที่ยวซอกค้นเอาสิ่งของที่มีค่าต่างๆ เช่น พระใส พระสุก พระแซกคำ พระแก่นจันทน์ พระสรงน้ำ พระเงินหล่อ พระเงินบุ พระเจ้าสันส้มมอ พระนากสะหวาด พระนากปกศิลา และให้ก่อเจดีย์ปราบเวียงจันทน์ไว้อยู่ค่ายหลวงบ้านพันพ้าว (เหนือวัด) แล้วจารึกว่า "เจดีย์ปราบเวียงและความชั่วร้ายของอ้ายอนุ" ไว้บนแผ่นศิลา
ครั้งถึงปีชวดเดือน ๗ พ.ศ.๒๓๗๑ โปรดเกล้าให้พระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) ยกทัพไปปราบเจ้าอนุวงศ์เป็นครั้งที่สอง เจ้าพระยาราชสุภาวดีนำทัพเข้าตั้งมั่นที่หนองบัวลำภู แล้วแต่งตั้งให้พระยาราชรองเมือง พระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฎร์ หลวงสุเรนทรวิชิต คุมทหาร ๑,๐๐๐ คน มาตั้งมั่นที่ค่ายพันพร้าว (ปัจจุบัน ตำบลพันพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย) พระยาราชรองเมืองแต่งตั้งให้พระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฎร์ หลวงสุเรนทรวิชิต พร้อมทหารสามร้อยกว่าคน ข้ามแม่น้ำโขงมาตั้งทัพที่วัดกลาง ควบคุมเวียงจันทน์เอาไว้ ฝ่ายทหารญวนที่ควบคุมเจ้าอนุวงศ์และครอบครัวมาถึงเวียงจันทร์ แล้วบอกทหารไทยที่เป็นทัพหน้าว่า "มินมางหว่างเด๊ จักรพรรดิแห่งญวนมีพระราชสาสน์ มาขออภัยโทษจากรัชกาลที่สามให้แก่เจ้าอนุวงศ์แล้ว พระราชสาสน์ส่งมาทางเรือสำเภาและรัชกาลที่สามพระราชทานอภัยโทษให้แล้ว" แม่ทัพหน้าของไทยต่างก็หลงเชื่อจึงให้เจ้าอนุวงศ์และทหารญวนพักที่หอคำ
เมื่อวันแรม ๗ ค่ำเดือน ๘ ตรงกับวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๓๗๑ เวลาประมาณ ๑๕.๐๐ น -๑๖.๐๐ น ทหารเวียงจันทน์ก็บุกตีกองทัพพระยาพิไชยสงคราม ที่ตั้งอยูชายฝั่งโขงด้านเวียงจันทน์ การรบเป็นไปอย่างดุเดือดจนถึงขั้นตะลุมบอน ครั้งนั้นพระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฏร์ หลวงสุเรนทรวิชิต พร้อมทหาร ๓๐๐ กว่าคนถูกฆ่าตายเกือบหมด เจ้าพระยาราชสุภาวดีแม่ทัพหลวงไทยยกทัพจากหนองบัวลำภูมาถึงพอดี มองข้ามโขงเห็นการรบตลอดเวลาจะยกพลข้ามโขงไปช่วยก็ไม่มีเรือ และทหารส่วนมากก็หลบหนีไปหมด ที่เหลือก็มีจำนวนน้อย จนค่ำหลวงรักษานาเวศกับพวก ๔๐-๕๐ คน ลอยเกาะขอนไม้ข้ามมาได้แค่นั้นเอง พระยาราชสุภาวดี เห็นกองกำลังเวียงจันทน์ยกข้ามโขงมา จึงถอยทัพออกจากค่ายพันพร้าวมุ่งหน้าไปเมืองยโสธร ฝ่ายเจ้าอนุวงศ์เข้ายึดค่ายพันพร้าวแล้วเข้ารื้อ พระเจดีย์ปราบเวียงจันทน์นำพระพุทธรูปกลับไปเวียงจันทน์ด้วย
ประวัติศาสตร์ลาวบันทึกตอนนี้ว่า ในเดือน ๘ แรม ๗ ค่ำ เวลาบ่าย ๔ โมง เจ้าอนุก็นำทหารเข้าล้อมค่ายทหารสยามที่ตั้งอยู่วัดกลาง ซึ่งเวลาเดียวกันนั้นกองทัพของพระยาราชสุภาวดี ก็ยกมาถึงบ้านพันพร้าว ทหารลาวได้ฆ่าทหารสยามตายหมดแม่ทัพทั้งสามคนตายในสนามรบ คือ พระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฎร์ หลวงสุเรนทรวิชิต ส่วนทหารจำนวนหนึ่งที่ออกนอกค่ายไม่กล้าเข้ามาช่วยกัน ได้พากันแล่นลงของ (พากันวิ่งลงแม่น้ำโขง) เพื่อข้ามฝาก แต่ก็ถูกทหารลาวพายเรือไล่ฟันตายลงน้ำ รวมทหารสยามตาย ๔๐๐ คน ที่เหลือ ๔๕ คน ไปแจ้งต่อพระยาราชสุภาวดี พระยาราชสภาวดีได้เห็นทหารลาวไล่ฟันแทงทหารสยามกลางหาดกลางน้ำด้วยตาตนเอง จึงกลัวตายโดยเฉพาะทหารเมืองโคราชและหัวเมืองลาวอื่นๆ ที่ถูกเกณฑ์มา พากันแตกหนีหมด ในตอนแลงมื้อนั้นเจ้าราชวงศ์ได้ตัดหัวแม่ทัพสยามทั้งสามคน ที่ตายในสนามรบนั้น ไปเสียบไว้หาดทรายแคมของ (เสียบไว้ตรงหาดทรายริมฝั่งแม่น้ำโขง) แล้วตามจับทหารสยามที่ยังหลี้(ที่ยังหลบซ่อนอยู่) ตามที่ต่างๆ มาจนหมด รวมทหารสยามตายทั้งหมด ๖๐๐ คนเศษ แล้วเจ้าราชวงศ์สั่งให้เพยมนีและท้าวมหาชัย คุมพล ๓๐๐ คนข้ามไปที่บ้านพันพ้าวให้รื้อเจดีย์ปราบเวียงจันทร์ "เกลี้ยงแต่ยอดฮอดก้าน" (รื้อ ตั้งแต่ยอดเจดีย์จรดฐาน) แล้วนำเอาพระพุทธรูปที่พวกสยามลัก(ขโมย)เอากลับมาเวียง คือ พระเสริม พระแสง พระสุก พระใส ๔ องค์

ข้อมูลจาก -ประวัติศาสตร์ลาว(ดึกดำบรรพ์-ปัจจุบัน)กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรมเวียงจันทน์ 2000
-หนังสือหนองคาย ISBN 974-89559-1-5 สิทธิพร ณ นครพนม

ຕຳນານຄ້າຍເມືອງພັນພ້າວ

เดิมเป็นชื่อเมืองโบราณ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๐๗๘ เป็นต้นมา ปัจจุบันคือที่ตั้งอำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย ซึ่งนักโบราณคดีเชื่อว่า เดิมเป็นส่วนหนึ่งของเวียงจันทน์ฝั่งขวาด้านทิศตะวันตก ถ้าพิจารณาภาพถ่ายทางอากาศ จะเห็นแนวกำแพงและคูเมืองเดิมเป็นแนวเดียวกัน มีแม่น้ำโขงผ่ากลางแต่ซากโบราณสถานที่สำคัญอยู่ที่ บก.นปข.เขตหนองคายประมาณ ๑๕ ไร่เศษ ซึ่งเดิมเป็นค่ายพานพร้าวของรัชกาลที่ ๑ ครั้งยังเป็นเจ้าพระยาจักรีสมุหนายกมหาดไทย เมื่อครั้งยกทัพยึดเวียงจันทน์ พ.ศ. ๒๓๒๑ เจ้าพระยาจักรีได้นำกองทัพมาตั้งมั่นบริเวณนี้ และข้ามไปตีเมืองเวียงจันทน์สำเร็จโดยเจ้าสิริบุญสานทิ้งเมืองหนี พระยาจักรีได้นำพระแก้วมรกตและพระบางกลับมาค่ายนี้ (วัดพระแก้วบริเวณ นปข.) และได้นางพระกำนัลชื่อ "นางแว่น หรือนางคำแว่น"เป็นอนุภรรยาด้วย ต่อมาคือ"เจ้าจอมแว่นหรือคุณเสือ" พระสนมเอกแต่ไม่มีราชสกุล การปราบเวียงจันทน์ครั้งนี้เป็นเกียรติยศ ทำให้ล้านช้างเป็นเมืองประเทศราช ชาวเวียงจันทน์และศรีเชียงใหม่ จึงเรียกกุลสตีในอุดมคติว่า "นางเขียวค้อม" และเจ้าจอมแว่นผู้นี้ทำให้กองทัพไทยไม่ทำลายเมืองเวียงจันทน์ จึงเรียกศึกในครั้งนั้นว่า "ศึกนางเขียวค้อม" พ.ศ.๒๓๒๑ โดยมีวัดนางเขียวค้อม อยู่ใต้ บก.นปข. (นางเขียวค้อมในอุดมคติล้านช้างมีหลายคน เล่ากันว่ารัชกาลที่ ๑ ทรงพระราชปรีชาญาณ สร้างธาตุ (เจดีย์) ปิดรูพญานาคไว้ทำให้ออกมาช่วยเหลือเวียงจันทน์ไม่ได้จึงพ่นพิษจนเจดีย์นั้นดำไปหมดและเรียก "พระธาตุดำ" (ปัจจุบันอยู่ฝั่งประเทศลาว) สืบมาหลังจากรัชกาลที่ ๑ ปราบดาภิเษก พ.ศ. ๒๓๒๕ บริเวณนี้คงอุทิศให้เป็นวัด มิได้เป็นค่าย
เมื่อปี พ.ศ.๒๓๖๙-๒๓๗๑ พระเจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ เป็นกบฏ แต่ประวัติศาสตร์ของลาวบอกว่าพระองค์ประกาศกอบกู้เอกราชโดยจะไม่เป็นเมืองขึ้นของสยามประเทศต่อไป เมื่อเป็นเช่นนั้น รัชกาลที่ ๓ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าให้ สมเด็จกรมพระราชวังบวรมหาศักดิพลเสพ เป็นแม่ทัพหลวง พระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพหน้า ยกไปปราบกบฏตีเมืองเวียงจันทน์เป็นผลสำเสร็จ แต่ตามจับเจ้าอนุวงศ์ไม่ได้เพราะพระองค์พาครอบครัวอพยพหลบหนีไปพึ่งญวนที่เมืองพูซุนหรือเมืองเว้
ตามประวัติศาสตร์ลาวบันทึกตอนนี้ว่า "เมื่อเดือน ๖ แรม ๖ ค่ำ (1827) เจ้าอนุวงศ์ไม่อยากมีศึกอยู่กลางเมืองเวียงจันทน์ เพราะกลัวว่าตัวเมืองจะถูกเผาทำลาย จึงต้องอพยพไปพึ่งญวนเพื่อเตรียมการรบครั้งใหม่ ก่อนจะออกจากเวียงจันทน์เจ้าอนุวงศ์ได้สั่ง ซุกซ่อน ช้างม้า อาวุธ พระพุทธรูปทองคำ และสิ่งของสำคัญต่างๆ เท่าที่จะทำได้ พระองค์หนีไปได้สองวัน กองทัพสยามกองหน้าจึงเข้าเมืองเวียงจันทน์ได้
สมเด็จพระบวรเจ้าฯ ทรงเห็นว่าใกล้ฤดูฝนจะตามจับตัวเจ้าอนุวงศ์ไม่ได้ จึงกราบบังคมทูลรัชกาลที่ ๓ ขอยกทัพกลับกรุงเทพฯ ในพระราชสาสน์ว่า "พระบางหายไปสืบหายังไม่ได้ ได้แต่พระเสริม พระใส พระแทรกคำ พระแก่นจันทน์ พระสรงน้ำ พระเงินหล่อพระเงินบุ รวม ๙ องค์ แต่จะเอาลงไปกรุงเทพได้แต่พระแทรกคำองศ์หนึ่ง และพระพุทธรูปที่ส่งลงไปกรุงเทพมิได้นั้น จะได้ก่อพระเจดีย์ ณ ค่ายหลวงเมืองพันพร้าวเหนือวัด ฐานกว้าง ๕ วา สูง ๘ วา ๒ ศอก จะบรรจุพระพุทธรูปไว้เป็นที่สักการบูชา(พระพุทธรูปที่เหลือ ๘ องค์) เกณฑ์อิฐไพร่พลในกองทัพเสมอคนละ ๒ แผ่น แล้วจารึกนามว่า พระเจดีย์ปราบเวียงจันทน์"
ประวัติศาสตร์ลาวบันทึกตอนนี้ว่า เมื่อทหารสยามเข้ามาเวียงจันทน์ก็เที่ยวซอกค้นเอาสิ่งของที่มีค่าต่างๆ เช่น พระใส พระสุก พระแซกคำ พระแก่นจันทน์ พระสรงน้ำ พระเงินหล่อ พระเงินบุ พระเจ้าสันส้มมอ พระนากสะหวาด พระนากปกศิลา และให้ก่อเจดีย์ปราบเวียงจันทน์ไว้อยู่ค่ายหลวงบ้านพันพ้าว (เหนือวัด) แล้วจารึกว่า "เจดีย์ปราบเวียงและความชั่วร้ายของอ้ายอนุ" ไว้บนแผ่นศิลา
ครั้งถึงปีชวดเดือน ๗ พ.ศ.๒๓๗๑ โปรดเกล้าให้พระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) ยกทัพไปปราบเจ้าอนุวงศ์เป็นครั้งที่สอง เจ้าพระยาราชสุภาวดีนำทัพเข้าตั้งมั่นที่หนองบัวลำภู แล้วแต่งตั้งให้พระยาราชรองเมือง พระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฎร์ หลวงสุเรนทรวิชิต คุมทหาร ๑,๐๐๐ คน มาตั้งมั่นที่ค่ายพันพร้าว (ปัจจุบัน ตำบลพันพร้าว อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย) พระยาราชรองเมืองแต่งตั้งให้พระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฎร์ หลวงสุเรนทรวิชิต พร้อมทหารสามร้อยกว่าคน ข้ามแม่น้ำโขงมาตั้งทัพที่วัดกลาง ควบคุมเวียงจันทน์เอาไว้ ฝ่ายทหารญวนที่ควบคุมเจ้าอนุวงศ์และครอบครัวมาถึงเวียงจันทร์ แล้วบอกทหารไทยที่เป็นทัพหน้าว่า "มินมางหว่างเด๊ จักรพรรดิแห่งญวนมีพระราชสาสน์ มาขออภัยโทษจากรัชกาลที่สามให้แก่เจ้าอนุวงศ์แล้ว พระราชสาสน์ส่งมาทางเรือสำเภาและรัชกาลที่สามพระราชทานอภัยโทษให้แล้ว" แม่ทัพหน้าของไทยต่างก็หลงเชื่อจึงให้เจ้าอนุวงศ์และทหารญวนพักที่หอคำ
เมื่อวันแรม ๗ ค่ำเดือน ๘ ตรงกับวันเสาร์ที่ ๒ สิงหาคม ๒๓๗๑ เวลาประมาณ ๑๕.๐๐ น -๑๖.๐๐ น ทหารเวียงจันทน์ก็บุกตีกองทัพพระยาพิไชยสงคราม ที่ตั้งอยูชายฝั่งโขงด้านเวียงจันทน์ การรบเป็นไปอย่างดุเดือดจนถึงขั้นตะลุมบอน ครั้งนั้นพระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฏร์ หลวงสุเรนทรวิชิต พร้อมทหาร ๓๐๐ กว่าคนถูกฆ่าตายเกือบหมด เจ้าพระยาราชสุภาวดีแม่ทัพหลวงไทยยกทัพจากหนองบัวลำภูมาถึงพอดี มองข้ามโขงเห็นการรบตลอดเวลาจะยกพลข้ามโขงไปช่วยก็ไม่มีเรือ และทหารส่วนมากก็หลบหนีไปหมด ที่เหลือก็มีจำนวนน้อย จนค่ำหลวงรักษานาเวศกับพวก ๔๐-๕๐ คน ลอยเกาะขอนไม้ข้ามมาได้แค่นั้นเอง พระยาราชสุภาวดี เห็นกองกำลังเวียงจันทน์ยกข้ามโขงมา จึงถอยทัพออกจากค่ายพันพร้าวมุ่งหน้าไปเมืองยโสธร ฝ่ายเจ้าอนุวงศ์เข้ายึดค่ายพันพร้าวแล้วเข้ารื้อ พระเจดีย์ปราบเวียงจันทน์นำพระพุทธรูปกลับไปเวียงจันทน์ด้วย
ประวัติศาสตร์ลาวบันทึกตอนนี้ว่า ในเดือน ๘ แรม ๗ ค่ำ เวลาบ่าย ๔ โมง เจ้าอนุก็นำทหารเข้าล้อมค่ายทหารสยามที่ตั้งอยู่วัดกลาง ซึ่งเวลาเดียวกันนั้นกองทัพของพระยาราชสุภาวดี ก็ยกมาถึงบ้านพันพร้าว ทหารลาวได้ฆ่าทหารสยามตายหมดแม่ทัพทั้งสามคนตายในสนามรบ คือ พระยาพิไชยสงคราม พระยาทุกขราษฎร์ หลวงสุเรนทรวิชิต ส่วนทหารจำนวนหนึ่งที่ออกนอกค่ายไม่กล้าเข้ามาช่วยกัน ได้พากันแล่นลงของ (พากันวิ่งลงแม่น้ำโขง) เพื่อข้ามฝาก แต่ก็ถูกทหารลาวพายเรือไล่ฟันตายลงน้ำ รวมทหารสยามตาย ๔๐๐ คน ที่เหลือ ๔๕ คน ไปแจ้งต่อพระยาราชสุภาวดี พระยาราชสภาวดีได้เห็นทหารลาวไล่ฟันแทงทหารสยามกลางหาดกลางน้ำด้วยตาตนเอง จึงกลัวตายโดยเฉพาะทหารเมืองโคราชและหัวเมืองลาวอื่นๆ ที่ถูกเกณฑ์มา พากันแตกหนีหมด ในตอนแลงมื้อนั้นเจ้าราชวงศ์ได้ตัดหัวแม่ทัพสยามทั้งสามคน ที่ตายในสนามรบนั้น ไปเสียบไว้หาดทรายแคมของ (เสียบไว้ตรงหาดทรายริมฝั่งแม่น้ำโขง) แล้วตามจับทหารสยามที่ยังหลี้(ที่ยังหลบซ่อนอยู่) ตามที่ต่างๆ มาจนหมด รวมทหารสยามตายทั้งหมด ๖๐๐ คนเศษ แล้วเจ้าราชวงศ์สั่งให้เพยมนีและท้าวมหาชัย คุมพล ๓๐๐ คนข้ามไปที่บ้านพันพ้าวให้รื้อเจดีย์ปราบเวียงจันทร์ "เกลี้ยงแต่ยอดฮอดก้าน" (รื้อ ตั้งแต่ยอดเจดีย์จรดฐาน) แล้วนำเอาพระพุทธรูปที่พวกสยามลัก(ขโมย)เอากลับมาเวียง คือ พระเสริม พระแสง พระสุก พระใส ๔ องค์

ข้อมูลจาก -ประวัติศาสตร์ลาว(ดึกดำบรรพ์-ปัจจุบัน)กระทรวงแถลงข่าวและวัฒนธรรมเวียงจันทน์ 2000
-หนังสือหนองคาย ISBN 974-89559-1-5 สิทธิพร ณ นครพนม

ຕຳນານເມືອງຊຽງຄານ

เบิกฟ้าเชียงคาน ขอกล่าวเล่าขาน ล้านช้างล้านนา นำไพร่พลมา สร้างเมืองเชียงคาน เมื่อประมาณ พ.ศ. 1400 เมืองเชียงคาน เดิมตั้งอยู่ที่เมืองซะนะคาม ประเทศสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งสร้างโดยขุนคานโอรสของขุนคัวแห่งอาณาจักรล้านช้าง ต่อมาพ.ศ. 2250 อาณาจักรล้านช้างแยกออกเป็น สองอาณาจักรคือ อาณาจักรหลวงพระบาง ซึ่งมีพระเจ้ากิงกิสราชเป็นกษัตริย์และอาณาจักรเวียงจันทน์
ซึ่งมีพระเจ้าไชยองค์เว้เป็นกษัตริย์ โดยกำหนดให้ดินแดนเหนือแม่น้ำเหืองขึ้นไปเป็นอาณาเขตหลวงพระบางและใต้แม่น้ำเหืองลงมาเป็นอาณาเขตเวียงจันทน์ พระอนุพินาศ เก่งกล้าสามารถ พาญาติพาหลาน สร้างเมืองปากเหือง เป็นเมืองหน้าด่าน ตั้งชื่อหมู่บ้าน เมืองใหม่ เชียงคาน ต่อมาทางหลวงพระบางได้สร้างเมืองปากเหือง ซึ่งอยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง เป็นเมืองหน้าด่านและทางเวียงจันทน์ ได้ตั้งเมืองเชียงคานเดิมเป็นเมืองหน้าด่านเช่นกัน พ.ศ. 2320 พระเจ้ากรุงธนบุรี ได้โปรดให้เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกับพระยาสุรสีห์ ยกทัพไปตีกรุงเวียงจันทน์ ตีเวียงจันทน์ได้จึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกต กลับมายังเมืองกรุงธนบุรี แล้วได้รวมอาณาจักรล้านช้างเข้าด้วยกันและให้เป็นประเทศราชของไทยแล้วได้กวาดต้อนผู้คนพลเมืองจากฝั่งซ้ายของลำน้ำโขงมาอยู่เมืองปากเหืองมากขึ้น ให้เมืองปากเหืองขึ้นไปอยู่กับเมืองพิชัย และโปรดเกล้าให้พระอนุพินาศ ( กิ่ง ต้นสกุล เครือทองศรี) เป็นเจ้าเมืองคนแรก พระราชทานชื่อเมืองใหม่ว่า เมืองเชียงคาน พระยาอรรคฮาต เจ้าเมืองเก่งกาจ ช่วยชาติพ้นภัย นำพวกตีต่อ จีนฮ่อออกไป เชียงคานจึงได้ ยกท่านเป็นพระยา ครั้นถึงสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพวกจีนฮ่อได้ยกทัพมาตีเมืองเวียงจันทน์ เมืองหลวงพระบาง และได้ปล้นสะดมภ์ เมืองเชียงคานเดิม ที่อยู่ฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง ชาวเชียงคานจึงอพยพผู้คนไปอยู่เมืองเชียงคานใหม่ (เมืองปากเหือง) เป็นจำนวนมากครั้นต่อมาเห็นว่าชัยภูมิเมืองเชียงคานใหม่(เมืองปากเหือง)ไม่เหมาะ ผู้คนส่วนใหญ่จึงอพยพไปอยู่ที่ บ้านท่านาจัน ซึ่งใกล้กับที่ตั้งของอำเภอเชียงคานปัจจุบันแล้วจึงตั้งชื่อเมืองใหม่ว่า “ เมืองใหม่เชียงคาน” ต่อมาคนไทยได้เสียดินแดนฝั่งขวา ของแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศส ทำให้ปากเหืองตกเป็นของฝรั่งเศส คนไทยที่ อยู่เมืองปากเหืองจึงอพยพมาอยู่บ้านท่านาจัน หรืออำเภอเชียงคานปัจจุบัน แล้วจึงได้เปลี่ยนชื่อเมืองเป็น “ เมืองเชียงคาน” ได้ตั้งที่ทำการอยู่บริเวณวัดมหาธาตุ เรียกว่าศาลาเมืองเชียงคาน พ.ศ. 2452 พระยาศรีอรรคอาต (ทองดี ศรีประเสริฐ)ได้รับตำแห่งเป็นนายอำเภอคนแรกปีพ.ศ. 2484 ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงคานมาอยู่ ณ ที่ปัจจุบันตราบเท่าทุกวันนี้

ຕຳນານເມືອງຊຽງຄານ

เบิกฟ้าเชียงคาน ขอกล่าวเล่าขาน ล้านช้างล้านนา นำไพร่พลมา สร้างเมืองเชียงคาน เมื่อประมาณ พ.ศ. 1400 เมืองเชียงคาน เดิมตั้งอยู่ที่เมืองซะนะคาม ประเทศสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ซึ่งสร้างโดยขุนคานโอรสของขุนคัวแห่งอาณาจักรล้านช้าง ต่อมาพ.ศ. 2250 อาณาจักรล้านช้างแยกออกเป็น สองอาณาจักรคือ อาณาจักรหลวงพระบาง ซึ่งมีพระเจ้ากิงกิสราชเป็นกษัตริย์และอาณาจักรเวียงจันทน์
ซึ่งมีพระเจ้าไชยองค์เว้เป็นกษัตริย์ โดยกำหนดให้ดินแดนเหนือแม่น้ำเหืองขึ้นไปเป็นอาณาเขตหลวงพระบางและใต้แม่น้ำเหืองลงมาเป็นอาณาเขตเวียงจันทน์ พระอนุพินาศ เก่งกล้าสามารถ พาญาติพาหลาน สร้างเมืองปากเหือง เป็นเมืองหน้าด่าน ตั้งชื่อหมู่บ้าน เมืองใหม่ เชียงคาน ต่อมาทางหลวงพระบางได้สร้างเมืองปากเหือง ซึ่งอยู่ทางฝั่งขวาแม่น้ำโขง เป็นเมืองหน้าด่านและทางเวียงจันทน์ ได้ตั้งเมืองเชียงคานเดิมเป็นเมืองหน้าด่านเช่นกัน พ.ศ. 2320 พระเจ้ากรุงธนบุรี ได้โปรดให้เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกับพระยาสุรสีห์ ยกทัพไปตีกรุงเวียงจันทน์ ตีเวียงจันทน์ได้จึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกต กลับมายังเมืองกรุงธนบุรี แล้วได้รวมอาณาจักรล้านช้างเข้าด้วยกันและให้เป็นประเทศราชของไทยแล้วได้กวาดต้อนผู้คนพลเมืองจากฝั่งซ้ายของลำน้ำโขงมาอยู่เมืองปากเหืองมากขึ้น ให้เมืองปากเหืองขึ้นไปอยู่กับเมืองพิชัย และโปรดเกล้าให้พระอนุพินาศ ( กิ่ง ต้นสกุล เครือทองศรี) เป็นเจ้าเมืองคนแรก พระราชทานชื่อเมืองใหม่ว่า เมืองเชียงคาน พระยาอรรคฮาต เจ้าเมืองเก่งกาจ ช่วยชาติพ้นภัย นำพวกตีต่อ จีนฮ่อออกไป เชียงคานจึงได้ ยกท่านเป็นพระยา ครั้นถึงสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพวกจีนฮ่อได้ยกทัพมาตีเมืองเวียงจันทน์ เมืองหลวงพระบาง และได้ปล้นสะดมภ์ เมืองเชียงคานเดิม ที่อยู่ฝั่งซ้ายของแม่น้ำโขง ชาวเชียงคานจึงอพยพผู้คนไปอยู่เมืองเชียงคานใหม่ (เมืองปากเหือง) เป็นจำนวนมากครั้นต่อมาเห็นว่าชัยภูมิเมืองเชียงคานใหม่(เมืองปากเหือง)ไม่เหมาะ ผู้คนส่วนใหญ่จึงอพยพไปอยู่ที่ บ้านท่านาจัน ซึ่งใกล้กับที่ตั้งของอำเภอเชียงคานปัจจุบันแล้วจึงตั้งชื่อเมืองใหม่ว่า “ เมืองใหม่เชียงคาน” ต่อมาคนไทยได้เสียดินแดนฝั่งขวา ของแม่น้ำโขงให้กับฝรั่งเศส ทำให้ปากเหืองตกเป็นของฝรั่งเศส คนไทยที่ อยู่เมืองปากเหืองจึงอพยพมาอยู่บ้านท่านาจัน หรืออำเภอเชียงคานปัจจุบัน แล้วจึงได้เปลี่ยนชื่อเมืองเป็น “ เมืองเชียงคาน” ได้ตั้งที่ทำการอยู่บริเวณวัดมหาธาตุ เรียกว่าศาลาเมืองเชียงคาน พ.ศ. 2452 พระยาศรีอรรคอาต (ทองดี ศรีประเสริฐ)ได้รับตำแห่งเป็นนายอำเภอคนแรกปีพ.ศ. 2484 ได้ย้ายที่ว่าการอำเภอเชียงคานมาอยู่ ณ ที่ปัจจุบันตราบเท่าทุกวันนี้

ເມືອງຊຽງລາບ

เมืองเชียงลาบ เป็นหัวเมืองไทลื้อ เมืองหนึ่งของสิบสองปันนา ก่อตั้งโดยพญาเจื่องฟ้าธรรมิกราช หรือ ขุนเจื่อง หรือ พญาเจื่อง หรือ สมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 1 แห่งราชวงค์อาฬาโวสวนตาน มูลเหตุการตั้งเมืองนั้นภายหลังพญาเจืองได้ขยายอณาเขตแผ่นดินไทลื้อได้กว้างขวางถึงสิบสองปันนาทั้งหมด รวมถึง หนองแส (ภาษาลื้ออ่านว่า หนองเส) ล้านนา ล้านช้าง และเมืองแถน เดียนเบียนฟู(เวียดนามเหนือ)เนื่องจากแผ่นดินสิบสองปันนา เมืองไทลื้อนั้นกว้างใหญ่ไพศาลยิ่งนัก

เมืองเชียงลาบนั้นพญาเจืองธรรมิกราช ชัยภูมิที่เหมาะสม อีกทั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างหิรัญเงินยางนคร และเชียงรุ่ง ซึ่งหากเกิดข้าศึกรุกรานเชียงรุ่ง ตรงจุดนี้ซึ่งเป็นจุดโขงโค้ง แม่น้ำโขงไหลเชี่ยวที่สุด ประกอบกับและเป็นจุดที่ยากลำบากที่สุดในการคมนาคม หากมีข้าศึกรุกรานจะทำให้ข้าศึกเหนื่อยล้า และสามารถสะกัดกั้นไม่ให้ข้าศึกไปตีเมืองหลวงเชียงรุ่งได้ ดังนั้นจึงได้โปรดให้บริวาร เสนาอามาตย์ สมณะ ครูบาสังฆเจ้า ไพร่พล เดินทางลงเรือ ตามลำน้ำของ เรียกกันว่า "ล่องของ" มาขึ้นฝั่งตรงสบลาบ และสร้างเวียงใหม่ขึ้น นามว่า "เวียงลาบ" หรือ เชียงลาบ

เมืองเชียงลาบเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ที่ลาดเชิงเขา ตัวเมือง ติดแม่น้ำโขง และเป็นเมืองท่าค้าขายที่สำคัญ ฉะนั้นรายได้หลักของเมืองคือ การเก็บภาษี อากร ส่วย ข่อน ที่เกิดจากพ่อค้าที่เดินทางไปค้าขายระหว่างเชียงแสน และเชียงรุ่ง อีกทั้งด้านทิศตะวันตกของเมืองเป็นภูเขาสูงซึ่งอุดมไปด้วยป่าไม้สัก และ น้ำผึ้ง และของป่าอื่น ๆ อีกทั้งด้านทิศเหนือซึ่งอยู่ใกล้กับเมืองลวงซึ่งเป็นแหล่งผลิตเกลือสินเธาร์ ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าสำคัญที่พวกพ่อค้าชาวจีนฮ่อ และไทใหญ่ นำลงมาขายให้กับเชียงแสน ปัจจุบันเมืองเชียงลาบก็ยังเป็นเมืองท่าที่สำคัญ ซึ่งตรงข้ามกับท่าเชียงกกของลาว ในการเดินทางไปติดต่อค้าขายในสิบสองปันนา

หลังสิ้นยุคของพญาเจิงหาญ หรือ ขุนเจือง พญายอง เจ้าเมืองยอง ได้ถือโอกาสยกทัพเข้าโจมตีเมืองเชียงลาบ และสามารถยึดเมืองได้ ดังนั้นเชียงลาบจึงเป็นเมืองขึ้นของเมืองยองมาตั้งแต่ต้น ภายหลังเมืองยองขาดเจ้าเมืองปกครอง และถูกเจ้าเมืองเชียงรุ่งร่วมกับทัพเมืองเชียงลาบยกทัพมาตีเมืองคืน และได้ยกทัพขึ้นไปตีเมืองยอง สุดท้ายเมืองยองจึงเป็นเมืองขึ้นของเมืองเชียงรุ่ง และเมืองเชียงลาบ

พอถึงสมัยต่อมาพญามังรายครองเมืองโยนก ก็ยกทัพไปตีทางด้านเมืองเชียงของ ลำพูน(อาณาเขตรวมเชียงใหม่ในปัจุบันด้วย) เชียงตุง และตีได้รุกรานไปในเขตเชียงรุ่งด้วยอีกส่วนหนึ่ง (ตามหมิงสือลู่ของจีน) ดังนั้นบริเวณเมืองยองส่วนที่เป็นเมืองไร เชียงลาบ พยาก พะแลว จึงถูกรวมเข้าในอาณาจักรโยนกของพญามังรายด้วย ต่อมาเมื่อพญามังรายไปตั้งกุมกาม และเชียงใหม่ ก็ให้พญาแสนพูไปอยู่เชียงแสน ปรากฏชื่อเมืองเชียงลาบว่าเป็นเมืองขึ้นของเมืองเชียงแสนในสมัยพญาแสนพูนี้เอง (ดูในจารึกวัดป่าสักที่ถูกถ่ายออกมาเป็นเรื่องเล่าในพื้นเมืองเชียงแสน) หลังจากนั้นมาเมืองเชียงลาบก็รวมอยู่กับเมืองเชียงแสนตลอด

ปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนหัวเมืองสิบสองปันนาตอนล่างนั้นพม่าสั่งให้เจ้าเมืองเชียงแขงรวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ซึ่งอยู่แถบชายแดนจีนทางสิบสองปันนาเข้าพม่า ได้แก่เมืองยอง เชียงลาบ บ้านยู้ เมืองหลวงตลอดจนถึงเมืองอูในลาวตอนบนให้ขึ้นไปกับเมืองเชียงแสน ในขณะที่ตำนานเมืองยอง ได้กล่าวถึงสมัยพระยาสุทโธธัมมราช กษัตริย์พม่าลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอูได้มอบหมายให้พระยาแสนสุรินทร์ทาพรหมราชเจ้าเมืองยองดูแลหัวเมืองต่างๆรวม 12 หัวเมืองได้แก่ เมืองยู้ เมืองหลวย เชียงแข เมืองวะ เมืองกาย เมืองเลน เมืองติน เมืองสาด เมืองพระยาก เมืองปะแลว เชียงลาบและเชียงทอง เมืองยองในสมันนี้จึงอยู่ศูนย์กลางในฐานะอำนาจย่อยของพม่าทางตะวันออก

ปี พ.ศ. 2347 กองทัพหลวงจากกรุงเทพ ฯ พร้อมด้วยกองทัพจากเชียงใหม่ นครลำปาง น่าน และเวียงจันทน์ ได้ยกไปตีเชียงแสน ตั้งล้อมอยู่สองเดือนจึงยึดเชียงแสนไว้ได้ เจ้ากาวิละสั่งให้รื้อกำแพงเมือง และทำลายเมืองไม่ให้ใช้เป็นที่มั่นของข้าศึกได้อีกต่อไป แล้วอพยพครอบครัวชาวเชียงแสนลงมาประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน แบ่งออกเป็นห้าส่วน ส่งลงไปกรุงเทพ ฯ ส่วนหนึ่งซึ่งต่อมาได้ไปตั้งถิ่นฐานที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่เหลือส่งไปอยู่ที่เวียงจันทน์ น่าน เชียงใหม่ และนครลำปาง

ความดีความชอบในครั้งนี้ เจ้ากาวิละได้รับสถาปนาเป็น พระเจ้าเชียงใหม่ มีฐานะเป็นเจ้าประเทศราช หลังจากตีเมืองเชียงแสนได้แล้ว กองทัพของล้านนาไทย ประกอบด้วย เชียงใหม่ นครลำปาง แพร่ เมืองเถิน น่าน รวมทัพกองทัพจากล้านช้างได้แก่ หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ได้ร่วมกันยกไปตีเมืองยอง เมืองลื้อ เมืองเขิน เมืองเชียงตุง เมืองเชียงรุ้ง เมืองเชียงแขง ตลอดจนบรรดาหัวเมืองต่าง ๆ แถบไทยใหญ่ ลื้อ เขิน เข้ามาเป็นข้าขอบขัณสีมาของกรุงรัตนโกสินทร์ ทำให้ราชอาณาจักรไทยแผ่ออกไปอย่างกว้างขวางใหญ่ไพศาล ยิ่งกว่าครั้งใด ๆ นับแต่นั้นมา หัวเมืองล้านนาไทยทั้งปวงก็ปลอดภัยจากการรุกรานของพม่า

นับแต่เมืองเชียงลาบ ไปสุดเมืองเชียงแขง เมืองล้า เมืองพง เมืองมาง เมืองภูคา เมืองเทิง เมืองเลน ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเมืองน่าน ในฐานนะหัวเมืองขึ้น หลังจากเมืองน่านได้ปกครองหัวเมืองลื้อต่าง ๆ ดังจารึกบทหนึ่งกล่าวไว้ว่า

“...เจ้าผู้ครองนครเมืองน่านจัดการเขตแดน ทำสงครามยุทธนาการมีชัยจับตัวเจ้าเมืองเชียงแขง ณ ที่บ้านยู้ เมืองหลวย ได้กวาดคนครอบครัวลงมาไว้ยังนคร-เมืองน่าน...และยังได้กวาดครอบครัวในหัวเมืองขึ้นเมืองเชียงแขงที่ใกล้เคียง คือ เมืองแฮะ เมืองหลวย เมืองวะ เมืองขัน เมืองเชียงขาง เมืองสิง เมืองนัง เมืองกาง เมืองลอง เมือง-ลาบ มาไว้ที่เมืองน่านด้วย...”


ครั้นต่อมาอีกไม่นานแล้วจึงได้มีหนังสือโองการเจ้าฟ้าแห่งเมืองนครน่าน ไปแจ้งยังเจ้าฟ้าไทลื้อหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อเดินทางมายังหอคำหลวงนครน่าน เพื่อรับฟังข้อกฎหมายปกครองนครน่าน ดังจารึกหลักคำ เรื่องอาณาจักรหลักคำน่าน (กฎหมายปกครองนครน่าน) ได้กล่าวไว้ตอนหนึ่งดังนี้....

ครั้นเถิงเดือนยี่ออก ๑ ค่ำ มีเจ้าพระยาอุปราชาหอหน้าเป็นประธาน และเจ้าพระยาราชบุตร เจ้าพระยาศรีสองเมือง เจ้าพระยาสุริยพงษ์ เจ้าพระยาวังซ้าย เจ้าพระยาวังขวา เจ้าพระยาอริยวงษา เจ้าพระยาเทิง เจ้าพระยาเมืองราชา เจ้าพระเมืองแก้ว เจ้าพระเมืองน้อย เจ้าพระวิไชยราชา เจ้าเมืองเชียงแขง เจ้าเมืองเชียงของ เจ้าเมืองเลน เจ้าราชวงษ์เมืองเลน เจ้าเมืองหลวง เจ้าเมืองเชียงลาบ เจ้าเมืองภูคา เจ้าเมืองล้ำ แลขัติยราชวงษา ท้าวพญาเสนาอามาตย์ราชเสวกผู้ใหญ่ผู้น้อยทั้งมวลพร้อมกันเอาเนื้อความปรึกษาตั้งราชอาชญานั้นขึ้นกราบหลอง๗ เถิงราชสำนักเราเป็นเจ้าแล้ว จึงได้พร้อมกันตั้งพระราชอาชญาไว้หื้อเป็นอาณาจักรหลักคำ ไว้สั่งสอนห้ามปรามเจ้านายท้าวขุนลูกหลานไพร่ไทยทั้งหลายอย่ากระทำกรรมอันบ่ดีสืบต่อไปภายหน้าว่าตั้งแต่ศักราช ๑๒๑๔ ตัวปีเต่าไจ้เดือนยี่ ออก ๑ ค่ำ วันพุธนี้ไป ภายหน้าห้ามอย่าหื้อเจ้านายท้าวขุนไพร่ไทยทั้งหลายได้สมคบกันกระทำกรรมบ่ดี ......

ในโองการเจ้าฟ้าแห่งเมืองนครน่านนั้น ได้ระบุแค่เจ้าเมือง แต่ไม่ได้บอกพระนามของเจ้าเมืองแต่ละเมือง

จนถึงราวๆปี พ.ศ. 2350 เจ้าฟ้ามหาขนานดวงแสง (รู้จักกันว่าเจ้ามหาขนาน) ซึ่งขึ้นเป็นเจ้าเมืองเชียงตุง ก็เอาผู้คนเข้ามาอยู่ในเมืองยองใหม่ มีการรวมเอาเมืองพะยาก พะแลว เมืองไร เชียงลาบ เข้ากับเมืองยองขึ้นกับเมืองเชียงตุงด้วย เมืองเชียงลาบจึงขึ้นกับเมืองยองตั้งแต่นั้นมา

ปีพ.ศ. 2353 เจ้าสุมนเทวราชก็ได้ทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญสืบต่อมา และได้ยกกองทัพไปตีเมืองล้า เมืองพง เมืองเชียงแขง เมืองหลวงภูคา ได้ครัวมาไว้เมืองน่าน 6,000 คน

ปี พ.ศ. 2385 เจ้าเมืองเชียงแข็งได้อพยพผู้คนไปขอพึ่งเจ้าเมืองเชียงตุงมหาขนานเนื่องจาก เจ้าเมืองน่านกวาดคนลื้อเชียงแขง เมืองพง มาอยู่เมืองน่าน ทำให้ผู้คนเหลือน้อยลง และบ้านเมืองก็แห้งแล้ง ทำนาไม่ได้ผล เจ้าฟ้ามหาขนานให้เจ้าเมืองเชียงแข็งปั้งเมืองอยู่ที่บ้านยู้เขตเมืองยอง เรียกว่า เมืองหลวยใต้ ดังนั้นเมืองเชียงลาบซึ่งอยู่ทางด้านทิศใต้ของเมืองหลวยใต้ก็กลายเป็นอาณาเขตของเมืองเชียงแขงไปด้วย

ต่อมาเจ้าสรีหน่อเมืองเชียงแขงย้ายเมืองไปตั้งอยู่ที่เมืองสิงห์ (เมืองสิงห์ในประเทศลาวปัจจุบัน) เรียกชื่อว่า เมืองเชียงแขง เหมือนเดิม เจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงซึ่งเป็นหลานก็จะเอาเมืองหลวยใต้คืนแต่สุดท้ายตกลงกันว่าให้ขึ้นกับเมืองเชียงแขงตามเดิม เมืองเชียงลาบจึงยังคงรวมกับเมืองเชียงแขง

ต่อมาเมื่อ รัชกาลที่ 5 ของสยาม ทราบว่าเจ้าเมืองเชียงแขงย้ายเมืองมาตั้งที่เมืองสิงห์ก็มีพระบรมราชโองการให้เจ้าเมืองน่านคือ พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เจ้าหลวงสุริยะ(ต่อมาเป็นพระเจ้าน่าน) ให้ไปบอกว่าที่นั่นเป็นเขตของสยามเพราะตอนนั้นลาวทั้งหมดจนถึงสิบสองพันนาบางส่วนคืออูใต้อูเหนือ และสิบสองจุไท เมืองถง เมืองไล (ปัจจุบันคือเดียนเบียนฟูและเมืองไลเจาในประเทศเวียดนาม) ทั้งหมดนี้เป็นอาณาเขตของสยาม

ดังนั้นเจ้าเมืองเชียงแขงจึงส่งบรรณาการลงมาถวาย (ได้มีโอกาสเห็นเอกสารฉบับนี้แล้ว ตัวหนังสือสวยมาก มีตราประทับด้วย) ต่อมาเมื่ออังกฤษทราบเรื่องก็ส่งคนลงมาบ้าน เมืองเชียงแขงก็ต้องทำตาม พอฝรั่งเศสมาอีก เชียงแขงก็ต้องส่งบรรณาการอีก แต่เมื่อสยามทราบข่าวว่าอังกฤษฝรั่งเศสแย่งชิงอำนาจเหนือดินแดนเมืองสิงห์ (ซึ่งยังเรียกว่าเชียงแขงอยู่) ก็ยกกองทัพขึ้นไปรักษาไว้ตามเขตแดนหลวงพระบาง ต่อมาเกิดกรณีพิพาทเรื่องพระยอดเมืองขวาง จนสยามต้องทำสนธิสัญญายกลาวฝั่งที่เป็นประเทศลาวปัจจุบันให้กับฝรั่งเศสไป

ในปี พ.ศ. 2436 แต่เมืองเชียงแขงยังคงเป็นเมืองอิสระ ไม่ขึ้นกับเมืองน่าน อังกฤษ หรือฝรั่งเศส และสนธิสัญญาระบุ ให้ยามถอนทหารออกจากดินแดนฝรั่งเศส 25 กม. ซึ่งถือว่าเมืองน่านไม่มีอำนาจเหนือเชียงแขง

ภายหลังจากที่ฝรั่งเศสได้ลาวแล้วก็รุกคืบไปทางเหนือจะเอาเชียงแขง แต่อังกฤษได้ส่งคนมาเจรจากับฝรั่งเศสก่อน ในปี พ.ศ. 2439 และสุดท้ายตกลงว่าจะแบ่งเมืองคนละครึ่ง เอาน้ำโขงเป็นเกณฑ์การแบ่งคือฝั่งที่อยู่ติดกับลาวให้ฝรั่งเศส ฝั่งที่อยู่ในเขตเชียงตุงให้อังกฤษ ดังนั้นเมืองเชียงลาบซึ่งอยู่ทางฝั่งเชียงตุงก็ตกเป็นของอังกฤษไป เมื่อพม่าได้รับเอกราช เชียงลาบจึงอยู่ในประเทศพม่านับแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเมืองเชียงลาบติดน้ำโขงจึงเป็นเมืองท่าสำหรับจอดเรือสินค้า พม่าก็ใช้ประโยชน์จากตรงนี้

ตอนที่อังกฤษฝรั่งเศสแบ่งเมืองเชียงแขงกันนี่เอง เมืองเชียงแขงฝั่งลาวจึงนิยมเรียกว่า เมืองสิงห์ตามความเข้าใจของฝรั่งเศส ปัจจุบันเราจึงไม่รู้จักเมืองเชียงแขง ซึ่งจริงๆแล้วเมืองนี้ปรากฏในพื้นเมืองล้านนาทุกฉบับ ดร.ชาวเยอรมันผู้หนึ่งได้สนใจเมืองนี้มาก ปัจจุบันได้พบเมืองเชียงแขงอยู่บริเวณหมู่บ้านเล็กๆริมแม่น้ำโขงชื่อว่าบ้านเชียงแขง มีเจดีย์ทรงล้านนาเหมือนเชียงแสนอยู่ทั่วไป หากใครได้อ่านตำนานเมืองเชียงแขงจะพบว่าชาวเชียงแขงได้สะท้อนความขมขื่นใจออกมาในประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองเขา ในตำนานกล่าวว่า ชาติที่ข่มเหงรังแกเขามี 3 ชาติ คือ สยาม ฝรั่งเศส และอังกฤษ ...

สำหรับในล้านนา เจ้าเมืองน่านนามว่า เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ผู้เป็นบิดาของพระเจ้าน่านสุริยพงศ์ผริตเดชก็มีมารดาเป็นลื้อเชียงแขงเช่นกัน
[แก้] ภาษา ศาสนาและความเชื่อ

สำเนียงภาษาชาวลื้อเมืองเชียงลาบ เป็นสำเนียงภาษาเดียวกับภาษาเชียงรุ่ง เหมือนกับภาษาชาวไทยอง (ลื้อเมืองยอง)

ตัวอักษรของชาวไทลื้อคล้ายกับภาษาของชาวไทเขิน ซึ่งต่างจากอักษรล้านนา ชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบนับถือพุทธศาสนา และนับถือผีบรรพบุรุษและผีต่าง ๆ

การนับถือพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา นับถือนิกายเถรวาท ประยุกต์เข้ากับวัฒนธรรมการนับถือผีของชาวเชียงลาบ
[แก้] ชาวเมืองเชียงลาบในประเทศไทย

หลังจากเหตุการณ์ ปี พ.ศ. 2347 เมืองเชียงลาบแตก ไพร่พลและชาวเมืองบางส่วนถูกกวาดต้อนมาที่เมืองน่าน ครั้นเมื่อพญาอัตถวรปัญโญ ได้เดินทางมาถึงเมืองน่าน ได้เกิดนองหลวงที่เมืองย่าง และเมืองยม ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก อีกทั้งแสนปั๋น เจ้าเมืองย่าง ได้สิ้นชีวิต เจ้าอัตถวรปัญเจ้าจึงได้เดินทางมาตรวจสภาพความเสียหาย พร้อมกับโปรดให้ชาวเมืองเชียงลาบ เมืองยอง และเมืองยู้ ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งแม่น้ำย่างเขตเมืองยม เพื่อฟื้นฟูสภาพความเสียหาย อีกทั้งครั้งนั้นท่านได้แต่งตั้งแสนจิณขึ้นปกครองเมืองย่าง

ส่วนชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบนั้นได้ตั้งบ้านเรือนริมน้ำบั่ว โดยตั้งชื่อหมู่บ้านว่า บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย ปัจจุบันคือ บ้านลอมกลาง ขึ้นการปกครองกับบ้านเชียงยืน โดยมีหลวงแสนปัญญาเป็นหัวหน้าหมู่บ้านเชียงยืน ทำหน้าที่ปกครอง บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย บ้านน้ำบั่ววัด บ้านเชียงยืน
[แก้] ประเพณีของชาวลื้อเมืองเชียงลาบ

ป๋างสี่ป๋างแปด ตรงกับเดือนสี่ และเดือนแปด ตามปฏิทินไทลื้อ คือพิธีบวชสรวงดวงวิญญาณของเจ้าหลวงเชียงลาบ และพระนางมหาเตวีเจ้า และเหล่าดวงวิญญานักรบโบราณ เสื้อบ้าน เสื้อเมืองเชียงลาบ ซึ่งจะจัดขึ้นทุกปี ในช่วงเดือนสี่ และเดือนแปด ของชาวไทลื้อ (เป็นประเพณีที่ต้องทำทุกปี ห้ามเว้นโดยเด็ดขาด)
ประเพณีปี๋ใหม่ ตรงกับเดือนหกของชาวไทลื้อ คือวันสงกรานต์ของไทย พิธีที่ต่างกันจากชาวล้านนาทั่วไปคือ ชาวลื้อจะมีการฉลองโดยการทำพิธีบายสีสู่ขวัญคนเฒ่าคนแก่ทุกคน และจะต้องทำให้ครบทุกคนในหมู่บ้าน และทุกบ้านหากมีผู้สูงอายุต้องทำพิธี และต้องเชิญชาวบ้านมาร่วมงาน และจะมีการฆ่าไก่ เพื่อมาต้มสู่ขวัญและ นำมาเลี้ยงแขกทุกคนในบ้าน และต้องเลี้ยงจนแขกคนสุดท้ายกลับ

[แก้] อ้างอิง

ເມືອງຊຽງລາບ

เมืองเชียงลาบ เป็นหัวเมืองไทลื้อ เมืองหนึ่งของสิบสองปันนา ก่อตั้งโดยพญาเจื่องฟ้าธรรมิกราช หรือ ขุนเจื่อง หรือ พญาเจื่อง หรือ สมเด็จพระเจ้าหอคำเชียงรุ่งที่ 1 แห่งราชวงค์อาฬาโวสวนตาน มูลเหตุการตั้งเมืองนั้นภายหลังพญาเจืองได้ขยายอณาเขตแผ่นดินไทลื้อได้กว้างขวางถึงสิบสองปันนาทั้งหมด รวมถึง หนองแส (ภาษาลื้ออ่านว่า หนองเส) ล้านนา ล้านช้าง และเมืองแถน เดียนเบียนฟู(เวียดนามเหนือ)เนื่องจากแผ่นดินสิบสองปันนา เมืองไทลื้อนั้นกว้างใหญ่ไพศาลยิ่งนัก

เมืองเชียงลาบนั้นพญาเจืองธรรมิกราช ชัยภูมิที่เหมาะสม อีกทั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างหิรัญเงินยางนคร และเชียงรุ่ง ซึ่งหากเกิดข้าศึกรุกรานเชียงรุ่ง ตรงจุดนี้ซึ่งเป็นจุดโขงโค้ง แม่น้ำโขงไหลเชี่ยวที่สุด ประกอบกับและเป็นจุดที่ยากลำบากที่สุดในการคมนาคม หากมีข้าศึกรุกรานจะทำให้ข้าศึกเหนื่อยล้า และสามารถสะกัดกั้นไม่ให้ข้าศึกไปตีเมืองหลวงเชียงรุ่งได้ ดังนั้นจึงได้โปรดให้บริวาร เสนาอามาตย์ สมณะ ครูบาสังฆเจ้า ไพร่พล เดินทางลงเรือ ตามลำน้ำของ เรียกกันว่า "ล่องของ" มาขึ้นฝั่งตรงสบลาบ และสร้างเวียงใหม่ขึ้น นามว่า "เวียงลาบ" หรือ เชียงลาบ

เมืองเชียงลาบเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ที่ลาดเชิงเขา ตัวเมือง ติดแม่น้ำโขง และเป็นเมืองท่าค้าขายที่สำคัญ ฉะนั้นรายได้หลักของเมืองคือ การเก็บภาษี อากร ส่วย ข่อน ที่เกิดจากพ่อค้าที่เดินทางไปค้าขายระหว่างเชียงแสน และเชียงรุ่ง อีกทั้งด้านทิศตะวันตกของเมืองเป็นภูเขาสูงซึ่งอุดมไปด้วยป่าไม้สัก และ น้ำผึ้ง และของป่าอื่น ๆ อีกทั้งด้านทิศเหนือซึ่งอยู่ใกล้กับเมืองลวงซึ่งเป็นแหล่งผลิตเกลือสินเธาร์ ซึ่งถือว่าเป็นสินค้าสำคัญที่พวกพ่อค้าชาวจีนฮ่อ และไทใหญ่ นำลงมาขายให้กับเชียงแสน ปัจจุบันเมืองเชียงลาบก็ยังเป็นเมืองท่าที่สำคัญ ซึ่งตรงข้ามกับท่าเชียงกกของลาว ในการเดินทางไปติดต่อค้าขายในสิบสองปันนา

หลังสิ้นยุคของพญาเจิงหาญ หรือ ขุนเจือง พญายอง เจ้าเมืองยอง ได้ถือโอกาสยกทัพเข้าโจมตีเมืองเชียงลาบ และสามารถยึดเมืองได้ ดังนั้นเชียงลาบจึงเป็นเมืองขึ้นของเมืองยองมาตั้งแต่ต้น ภายหลังเมืองยองขาดเจ้าเมืองปกครอง และถูกเจ้าเมืองเชียงรุ่งร่วมกับทัพเมืองเชียงลาบยกทัพมาตีเมืองคืน และได้ยกทัพขึ้นไปตีเมืองยอง สุดท้ายเมืองยองจึงเป็นเมืองขึ้นของเมืองเชียงรุ่ง และเมืองเชียงลาบ

พอถึงสมัยต่อมาพญามังรายครองเมืองโยนก ก็ยกทัพไปตีทางด้านเมืองเชียงของ ลำพูน(อาณาเขตรวมเชียงใหม่ในปัจุบันด้วย) เชียงตุง และตีได้รุกรานไปในเขตเชียงรุ่งด้วยอีกส่วนหนึ่ง (ตามหมิงสือลู่ของจีน) ดังนั้นบริเวณเมืองยองส่วนที่เป็นเมืองไร เชียงลาบ พยาก พะแลว จึงถูกรวมเข้าในอาณาจักรโยนกของพญามังรายด้วย ต่อมาเมื่อพญามังรายไปตั้งกุมกาม และเชียงใหม่ ก็ให้พญาแสนพูไปอยู่เชียงแสน ปรากฏชื่อเมืองเชียงลาบว่าเป็นเมืองขึ้นของเมืองเชียงแสนในสมัยพญาแสนพูนี้เอง (ดูในจารึกวัดป่าสักที่ถูกถ่ายออกมาเป็นเรื่องเล่าในพื้นเมืองเชียงแสน) หลังจากนั้นมาเมืองเชียงลาบก็รวมอยู่กับเมืองเชียงแสนตลอด

ปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ตกเป็นเมืองขึ้นของพม่า ส่วนหัวเมืองสิบสองปันนาตอนล่างนั้นพม่าสั่งให้เจ้าเมืองเชียงแขงรวบรวมหัวเมืองต่าง ๆ ซึ่งอยู่แถบชายแดนจีนทางสิบสองปันนาเข้าพม่า ได้แก่เมืองยอง เชียงลาบ บ้านยู้ เมืองหลวงตลอดจนถึงเมืองอูในลาวตอนบนให้ขึ้นไปกับเมืองเชียงแสน ในขณะที่ตำนานเมืองยอง ได้กล่าวถึงสมัยพระยาสุทโธธัมมราช กษัตริย์พม่าลำดับที่ 5 แห่งราชวงศ์ตองอูได้มอบหมายให้พระยาแสนสุรินทร์ทาพรหมราชเจ้าเมืองยองดูแลหัวเมืองต่างๆรวม 12 หัวเมืองได้แก่ เมืองยู้ เมืองหลวย เชียงแข เมืองวะ เมืองกาย เมืองเลน เมืองติน เมืองสาด เมืองพระยาก เมืองปะแลว เชียงลาบและเชียงทอง เมืองยองในสมันนี้จึงอยู่ศูนย์กลางในฐานะอำนาจย่อยของพม่าทางตะวันออก

ปี พ.ศ. 2347 กองทัพหลวงจากกรุงเทพ ฯ พร้อมด้วยกองทัพจากเชียงใหม่ นครลำปาง น่าน และเวียงจันทน์ ได้ยกไปตีเชียงแสน ตั้งล้อมอยู่สองเดือนจึงยึดเชียงแสนไว้ได้ เจ้ากาวิละสั่งให้รื้อกำแพงเมือง และทำลายเมืองไม่ให้ใช้เป็นที่มั่นของข้าศึกได้อีกต่อไป แล้วอพยพครอบครัวชาวเชียงแสนลงมาประมาณ ๒๐,๐๐๐ คน แบ่งออกเป็นห้าส่วน ส่งลงไปกรุงเทพ ฯ ส่วนหนึ่งซึ่งต่อมาได้ไปตั้งถิ่นฐานที่อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ที่เหลือส่งไปอยู่ที่เวียงจันทน์ น่าน เชียงใหม่ และนครลำปาง

ความดีความชอบในครั้งนี้ เจ้ากาวิละได้รับสถาปนาเป็น พระเจ้าเชียงใหม่ มีฐานะเป็นเจ้าประเทศราช หลังจากตีเมืองเชียงแสนได้แล้ว กองทัพของล้านนาไทย ประกอบด้วย เชียงใหม่ นครลำปาง แพร่ เมืองเถิน น่าน รวมทัพกองทัพจากล้านช้างได้แก่ หลวงพระบาง และเวียงจันทน์ได้ร่วมกันยกไปตีเมืองยอง เมืองลื้อ เมืองเขิน เมืองเชียงตุง เมืองเชียงรุ้ง เมืองเชียงแขง ตลอดจนบรรดาหัวเมืองต่าง ๆ แถบไทยใหญ่ ลื้อ เขิน เข้ามาเป็นข้าขอบขัณสีมาของกรุงรัตนโกสินทร์ ทำให้ราชอาณาจักรไทยแผ่ออกไปอย่างกว้างขวางใหญ่ไพศาล ยิ่งกว่าครั้งใด ๆ นับแต่นั้นมา หัวเมืองล้านนาไทยทั้งปวงก็ปลอดภัยจากการรุกรานของพม่า

นับแต่เมืองเชียงลาบ ไปสุดเมืองเชียงแขง เมืองล้า เมืองพง เมืองมาง เมืองภูคา เมืองเทิง เมืองเลน ถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของเมืองน่าน ในฐานนะหัวเมืองขึ้น หลังจากเมืองน่านได้ปกครองหัวเมืองลื้อต่าง ๆ ดังจารึกบทหนึ่งกล่าวไว้ว่า

“...เจ้าผู้ครองนครเมืองน่านจัดการเขตแดน ทำสงครามยุทธนาการมีชัยจับตัวเจ้าเมืองเชียงแขง ณ ที่บ้านยู้ เมืองหลวย ได้กวาดคนครอบครัวลงมาไว้ยังนคร-เมืองน่าน...และยังได้กวาดครอบครัวในหัวเมืองขึ้นเมืองเชียงแขงที่ใกล้เคียง คือ เมืองแฮะ เมืองหลวย เมืองวะ เมืองขัน เมืองเชียงขาง เมืองสิง เมืองนัง เมืองกาง เมืองลอง เมือง-ลาบ มาไว้ที่เมืองน่านด้วย...”


ครั้นต่อมาอีกไม่นานแล้วจึงได้มีหนังสือโองการเจ้าฟ้าแห่งเมืองนครน่าน ไปแจ้งยังเจ้าฟ้าไทลื้อหัวเมืองต่าง ๆ เพื่อเดินทางมายังหอคำหลวงนครน่าน เพื่อรับฟังข้อกฎหมายปกครองนครน่าน ดังจารึกหลักคำ เรื่องอาณาจักรหลักคำน่าน (กฎหมายปกครองนครน่าน) ได้กล่าวไว้ตอนหนึ่งดังนี้....

ครั้นเถิงเดือนยี่ออก ๑ ค่ำ มีเจ้าพระยาอุปราชาหอหน้าเป็นประธาน และเจ้าพระยาราชบุตร เจ้าพระยาศรีสองเมือง เจ้าพระยาสุริยพงษ์ เจ้าพระยาวังซ้าย เจ้าพระยาวังขวา เจ้าพระยาอริยวงษา เจ้าพระยาเทิง เจ้าพระยาเมืองราชา เจ้าพระเมืองแก้ว เจ้าพระเมืองน้อย เจ้าพระวิไชยราชา เจ้าเมืองเชียงแขง เจ้าเมืองเชียงของ เจ้าเมืองเลน เจ้าราชวงษ์เมืองเลน เจ้าเมืองหลวง เจ้าเมืองเชียงลาบ เจ้าเมืองภูคา เจ้าเมืองล้ำ แลขัติยราชวงษา ท้าวพญาเสนาอามาตย์ราชเสวกผู้ใหญ่ผู้น้อยทั้งมวลพร้อมกันเอาเนื้อความปรึกษาตั้งราชอาชญานั้นขึ้นกราบหลอง๗ เถิงราชสำนักเราเป็นเจ้าแล้ว จึงได้พร้อมกันตั้งพระราชอาชญาไว้หื้อเป็นอาณาจักรหลักคำ ไว้สั่งสอนห้ามปรามเจ้านายท้าวขุนลูกหลานไพร่ไทยทั้งหลายอย่ากระทำกรรมอันบ่ดีสืบต่อไปภายหน้าว่าตั้งแต่ศักราช ๑๒๑๔ ตัวปีเต่าไจ้เดือนยี่ ออก ๑ ค่ำ วันพุธนี้ไป ภายหน้าห้ามอย่าหื้อเจ้านายท้าวขุนไพร่ไทยทั้งหลายได้สมคบกันกระทำกรรมบ่ดี ......

ในโองการเจ้าฟ้าแห่งเมืองนครน่านนั้น ได้ระบุแค่เจ้าเมือง แต่ไม่ได้บอกพระนามของเจ้าเมืองแต่ละเมือง

จนถึงราวๆปี พ.ศ. 2350 เจ้าฟ้ามหาขนานดวงแสง (รู้จักกันว่าเจ้ามหาขนาน) ซึ่งขึ้นเป็นเจ้าเมืองเชียงตุง ก็เอาผู้คนเข้ามาอยู่ในเมืองยองใหม่ มีการรวมเอาเมืองพะยาก พะแลว เมืองไร เชียงลาบ เข้ากับเมืองยองขึ้นกับเมืองเชียงตุงด้วย เมืองเชียงลาบจึงขึ้นกับเมืองยองตั้งแต่นั้นมา

ปีพ.ศ. 2353 เจ้าสุมนเทวราชก็ได้ทะนุบำรุงบ้านเมืองให้เจริญสืบต่อมา และได้ยกกองทัพไปตีเมืองล้า เมืองพง เมืองเชียงแขง เมืองหลวงภูคา ได้ครัวมาไว้เมืองน่าน 6,000 คน

ปี พ.ศ. 2385 เจ้าเมืองเชียงแข็งได้อพยพผู้คนไปขอพึ่งเจ้าเมืองเชียงตุงมหาขนานเนื่องจาก เจ้าเมืองน่านกวาดคนลื้อเชียงแขง เมืองพง มาอยู่เมืองน่าน ทำให้ผู้คนเหลือน้อยลง และบ้านเมืองก็แห้งแล้ง ทำนาไม่ได้ผล เจ้าฟ้ามหาขนานให้เจ้าเมืองเชียงแข็งปั้งเมืองอยู่ที่บ้านยู้เขตเมืองยอง เรียกว่า เมืองหลวยใต้ ดังนั้นเมืองเชียงลาบซึ่งอยู่ทางด้านทิศใต้ของเมืองหลวยใต้ก็กลายเป็นอาณาเขตของเมืองเชียงแขงไปด้วย

ต่อมาเจ้าสรีหน่อเมืองเชียงแขงย้ายเมืองไปตั้งอยู่ที่เมืองสิงห์ (เมืองสิงห์ในประเทศลาวปัจจุบัน) เรียกชื่อว่า เมืองเชียงแขง เหมือนเดิม เจ้าฟ้าเมืองเชียงตุงซึ่งเป็นหลานก็จะเอาเมืองหลวยใต้คืนแต่สุดท้ายตกลงกันว่าให้ขึ้นกับเมืองเชียงแขงตามเดิม เมืองเชียงลาบจึงยังคงรวมกับเมืองเชียงแขง

ต่อมาเมื่อ รัชกาลที่ 5 ของสยาม ทราบว่าเจ้าเมืองเชียงแขงย้ายเมืองมาตั้งที่เมืองสิงห์ก็มีพระบรมราชโองการให้เจ้าเมืองน่านคือ พระเจ้าสุริยพงษ์ผลิตเดชฯ เจ้าหลวงสุริยะ(ต่อมาเป็นพระเจ้าน่าน) ให้ไปบอกว่าที่นั่นเป็นเขตของสยามเพราะตอนนั้นลาวทั้งหมดจนถึงสิบสองพันนาบางส่วนคืออูใต้อูเหนือ และสิบสองจุไท เมืองถง เมืองไล (ปัจจุบันคือเดียนเบียนฟูและเมืองไลเจาในประเทศเวียดนาม) ทั้งหมดนี้เป็นอาณาเขตของสยาม

ดังนั้นเจ้าเมืองเชียงแขงจึงส่งบรรณาการลงมาถวาย (ได้มีโอกาสเห็นเอกสารฉบับนี้แล้ว ตัวหนังสือสวยมาก มีตราประทับด้วย) ต่อมาเมื่ออังกฤษทราบเรื่องก็ส่งคนลงมาบ้าน เมืองเชียงแขงก็ต้องทำตาม พอฝรั่งเศสมาอีก เชียงแขงก็ต้องส่งบรรณาการอีก แต่เมื่อสยามทราบข่าวว่าอังกฤษฝรั่งเศสแย่งชิงอำนาจเหนือดินแดนเมืองสิงห์ (ซึ่งยังเรียกว่าเชียงแขงอยู่) ก็ยกกองทัพขึ้นไปรักษาไว้ตามเขตแดนหลวงพระบาง ต่อมาเกิดกรณีพิพาทเรื่องพระยอดเมืองขวาง จนสยามต้องทำสนธิสัญญายกลาวฝั่งที่เป็นประเทศลาวปัจจุบันให้กับฝรั่งเศสไป

ในปี พ.ศ. 2436 แต่เมืองเชียงแขงยังคงเป็นเมืองอิสระ ไม่ขึ้นกับเมืองน่าน อังกฤษ หรือฝรั่งเศส และสนธิสัญญาระบุ ให้ยามถอนทหารออกจากดินแดนฝรั่งเศส 25 กม. ซึ่งถือว่าเมืองน่านไม่มีอำนาจเหนือเชียงแขง

ภายหลังจากที่ฝรั่งเศสได้ลาวแล้วก็รุกคืบไปทางเหนือจะเอาเชียงแขง แต่อังกฤษได้ส่งคนมาเจรจากับฝรั่งเศสก่อน ในปี พ.ศ. 2439 และสุดท้ายตกลงว่าจะแบ่งเมืองคนละครึ่ง เอาน้ำโขงเป็นเกณฑ์การแบ่งคือฝั่งที่อยู่ติดกับลาวให้ฝรั่งเศส ฝั่งที่อยู่ในเขตเชียงตุงให้อังกฤษ ดังนั้นเมืองเชียงลาบซึ่งอยู่ทางฝั่งเชียงตุงก็ตกเป็นของอังกฤษไป เมื่อพม่าได้รับเอกราช เชียงลาบจึงอยู่ในประเทศพม่านับแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน เนื่องจากเมืองเชียงลาบติดน้ำโขงจึงเป็นเมืองท่าสำหรับจอดเรือสินค้า พม่าก็ใช้ประโยชน์จากตรงนี้

ตอนที่อังกฤษฝรั่งเศสแบ่งเมืองเชียงแขงกันนี่เอง เมืองเชียงแขงฝั่งลาวจึงนิยมเรียกว่า เมืองสิงห์ตามความเข้าใจของฝรั่งเศส ปัจจุบันเราจึงไม่รู้จักเมืองเชียงแขง ซึ่งจริงๆแล้วเมืองนี้ปรากฏในพื้นเมืองล้านนาทุกฉบับ ดร.ชาวเยอรมันผู้หนึ่งได้สนใจเมืองนี้มาก ปัจจุบันได้พบเมืองเชียงแขงอยู่บริเวณหมู่บ้านเล็กๆริมแม่น้ำโขงชื่อว่าบ้านเชียงแขง มีเจดีย์ทรงล้านนาเหมือนเชียงแสนอยู่ทั่วไป หากใครได้อ่านตำนานเมืองเชียงแขงจะพบว่าชาวเชียงแขงได้สะท้อนความขมขื่นใจออกมาในประวัติศาสตร์ของบ้านเมืองเขา ในตำนานกล่าวว่า ชาติที่ข่มเหงรังแกเขามี 3 ชาติ คือ สยาม ฝรั่งเศส และอังกฤษ ...

สำหรับในล้านนา เจ้าเมืองน่านนามว่า เจ้าอนันตวรฤทธิเดช ผู้เป็นบิดาของพระเจ้าน่านสุริยพงศ์ผริตเดชก็มีมารดาเป็นลื้อเชียงแขงเช่นกัน
[แก้] ภาษา ศาสนาและความเชื่อ

สำเนียงภาษาชาวลื้อเมืองเชียงลาบ เป็นสำเนียงภาษาเดียวกับภาษาเชียงรุ่ง เหมือนกับภาษาชาวไทยอง (ลื้อเมืองยอง)

ตัวอักษรของชาวไทลื้อคล้ายกับภาษาของชาวไทเขิน ซึ่งต่างจากอักษรล้านนา ชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบนับถือพุทธศาสนา และนับถือผีบรรพบุรุษและผีต่าง ๆ

การนับถือพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนา นับถือนิกายเถรวาท ประยุกต์เข้ากับวัฒนธรรมการนับถือผีของชาวเชียงลาบ
[แก้] ชาวเมืองเชียงลาบในประเทศไทย

หลังจากเหตุการณ์ ปี พ.ศ. 2347 เมืองเชียงลาบแตก ไพร่พลและชาวเมืองบางส่วนถูกกวาดต้อนมาที่เมืองน่าน ครั้นเมื่อพญาอัตถวรปัญโญ ได้เดินทางมาถึงเมืองน่าน ได้เกิดนองหลวงที่เมืองย่าง และเมืองยม ผู้คนล้มตายเป็นจำนวนมาก อีกทั้งแสนปั๋น เจ้าเมืองย่าง ได้สิ้นชีวิต เจ้าอัตถวรปัญเจ้าจึงได้เดินทางมาตรวจสภาพความเสียหาย พร้อมกับโปรดให้ชาวเมืองเชียงลาบ เมืองยอง และเมืองยู้ ได้ตั้งบ้านเรือนอยู่ริมฝั่งแม่น้ำย่างเขตเมืองยม เพื่อฟื้นฟูสภาพความเสียหาย อีกทั้งครั้งนั้นท่านได้แต่งตั้งแสนจิณขึ้นปกครองเมืองย่าง

ส่วนชาวไทลื้อเมืองเชียงลาบนั้นได้ตั้งบ้านเรือนริมน้ำบั่ว โดยตั้งชื่อหมู่บ้านว่า บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย ปัจจุบันคือ บ้านลอมกลาง ขึ้นการปกครองกับบ้านเชียงยืน โดยมีหลวงแสนปัญญาเป็นหัวหน้าหมู่บ้านเชียงยืน ทำหน้าที่ปกครอง บ้านน้ำบั่วป่ากล้วย บ้านน้ำบั่ววัด บ้านเชียงยืน
[แก้] ประเพณีของชาวลื้อเมืองเชียงลาบ

ป๋างสี่ป๋างแปด ตรงกับเดือนสี่ และเดือนแปด ตามปฏิทินไทลื้อ คือพิธีบวชสรวงดวงวิญญาณของเจ้าหลวงเชียงลาบ และพระนางมหาเตวีเจ้า และเหล่าดวงวิญญานักรบโบราณ เสื้อบ้าน เสื้อเมืองเชียงลาบ ซึ่งจะจัดขึ้นทุกปี ในช่วงเดือนสี่ และเดือนแปด ของชาวไทลื้อ (เป็นประเพณีที่ต้องทำทุกปี ห้ามเว้นโดยเด็ดขาด)
ประเพณีปี๋ใหม่ ตรงกับเดือนหกของชาวไทลื้อ คือวันสงกรานต์ของไทย พิธีที่ต่างกันจากชาวล้านนาทั่วไปคือ ชาวลื้อจะมีการฉลองโดยการทำพิธีบายสีสู่ขวัญคนเฒ่าคนแก่ทุกคน และจะต้องทำให้ครบทุกคนในหมู่บ้าน และทุกบ้านหากมีผู้สูงอายุต้องทำพิธี และต้องเชิญชาวบ้านมาร่วมงาน และจะมีการฆ่าไก่ เพื่อมาต้มสู่ขวัญและ นำมาเลี้ยงแขกทุกคนในบ้าน และต้องเลี้ยงจนแขกคนสุดท้ายกลับ

[แก้] อ้างอิง

ປະຫວັດເມືອງອຸບົນ

เมื่อปีพุทธศักราช 2228 เกิด วิกฤติทางการเมืองในนครเชียงรุ้ง เพราะกลุ่มจีนฮ่อธงขาวยกกำลังปล้น เมืองเจ้านครเชียงรุ้งคือ เจ้าอินทกุมาร เจ้านางจันทกุมารี และเจ้าปางคำ ได้อพยพไพร่พลมาขอพึ่งบารมีพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ของเวียงจันท์ จึงโปรดให้นำไพร่พลไปตั้งเมืองที่หนองบัวลุ่มภู (ปัจจุบันเป็นจังหวัดหนองบัวลำภู) โดยตั้งชื่อเมืองว่า "นครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน"

ต่อมาพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ให้เจ้าปางคำเสกสมรสกับพระราชนัดดาได้โอรส คือ เจ้าพระตา เจ้าพระวอซึ่งมีความสำคัญต่อเมืองอุบลราชธานีอย่างยิ่ง เพราะต่อมา ปีพุทธศักราช 2314 เกิดสงครามแย่งชิงอำนาจระหว่างเวียงจันท์กับเมืองหนองบัวลุ่มภู โดยเจ้าสิริบุญสาร เจ้าแผ่นดินเวียงจันท์ ขอบุตรธิดาของเจ้าพระตา เจ้าพระวอ ไปเป็นนางห้ามและนางสนม แต่เจ้าพระตา เจ้าพระวอไม่ให้ เจ้าสิริบุญสาร จึงส่งกองทัพมาตีเมืองหนองบัวลุ่มภู เจ้าพระตา เจ้าพระวอ ยกกองทัพออกต่อสู้ และกองทัพเวียงจันท์ต้องพ่ายกลับไปหลายครั้ง

การรบระหว่างเวียงจันทร์กับเมืองหนองบัวลุ่มภู ต่อสู้กินเวลายาวนานถึง 3 ปี ไม่มีผลแพ้ชนะกัน เจ้าสิริบุญสารได้ส่งทูตไปขอกองทัพพม่าที่เมืองเชียงใหม่ ให้มาช่วยตีเมืองหนองบัวลุ่มภู โดยมีเงื่อนไขเวียงจันทร์ยอมเป็นเมืองขึ้นของพม่า กองทัพพม่าที่เมืองเชียงใหม่ จึงให้ม่องระแง คุมกองทัพมาช่วยเจ้าสิริบุญสารรบ เมื่อฝ่ายเจ้าพระตาทราบข่าวศึก คะเนคงเหลือกำลังที่จะต้านศึกกองทัพใหญ่กว่าไว้ได้ จึงให้เจ้าคำโส เจ้าคำขุย เจ้าก่ำ เจ้าคำสิงห์ พาไพร่พล คนชรา เด็ก ผู้หญิง พร้อมพระสงฆ์ อพยพมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อหาที่สร้างบ้านแปลงเมืองใหม่ไว้รอท่า หากแพ้สงครามจะได้อพยพติดตามมาอยู่ด้วย

โดย แรกได้มาตั้งเมืองที่บ้านสิงห์โคก บ้านสิงห์ท่า (ปัจจุบันคือจังหวัดยโสธร) และการสู้รบในครั้งสุดท้าย เจ้าพระตาถึงแก่ความตายในสนามรบ เจ้าพระวอผู้เป็นบุตรชายคนโต พร้อมด้วยพี่น้องคือ นางอูสา นางสีดา นางแสนสีชาด นางแพงแสน เจ้าคำผง เจ้าทิตพรหม และนางเหมือนตา ได้หลบหนีออกจากเมืองมารับเสบียงอาหารจากบ้านสิงห์โคก สิงห์ท่า แล้วผ่านลงไปตั้งเมืองที่ "ดอนมดแดง" พร้อมขอพึ่งพระเจ้าไชยกุมารองค์หลวง แห่งนครจำปาศักดิ์ ฝ่ายเจ้าสิริบุญสารทราบข่าวการตั้งเมืองใหม่ จึงให้อัคฮาดหำทอง และพญาสุโพ ยกกองทัพมาตีเจ้าพระวอสู้ไม่ได้ และเสียชีวิตในสนามรบ เจ้าคำผงผู้น้องจึงขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่ม พร้อมมีใบบอกลงไปที่เมืองนครราชสีมา และกรุงธนบุรี เพื่อขอพึ่งบารมีพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึ่งให้ เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) และเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ยกกองทัพมาช่วยเจ้าคำผง ด้านพญาสุโพรู้ข่าวศึกของเจ้ากรุงธนบุรี จึงสั่งถอยทัพกลับเวียงจันท์ แต่เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ได้เดินทัพติดตามทัพเวียงจันทร์ จนสามารถเข้ายึดเมืองได้สำเร็จ จึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกต พร้อมคุมตัวเจ้าสิริบุญสารไปกรุงธนบุรี ส่วนเจ้าคำผงหลังเสร็จศึกได้กลับไปตั้งเมืองอยู่ที่ดอนมดแดงเหมือนเดิม กระทั่งปีพุทธศักราช 2319 เกิดน้ำท่วมใหญ่ เจ้าคำผงจึงอพยพไพร่พลไปอยู่ที่ดอนห้วยแจระแม (ปัจจุบัน คือบ้านท่าบ่อ) รอจนน้ำลด แล้วจึงหาทำเลที่ตั้งเมืองใหม่ที่ที่ตำบลบ้านร้าง เรียกว่า ดงอู่ผึ้งริมฝั่งแม่น้ำมูลอันเป็นที่ตั้งของจังหวัดอุบลราชธานีในปัจจุบัน เมื่อปีพุทธศักราช 2320 พร้อมกับได้สร้างพระอารามหลวงขึ้นเป็นวัดแรก

ต่อมาปีพุทธศักราช 2322 พระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาราชสุภาวดี เชิญท้องตราขึ้นมาตั้งเป็นเมืองอุบลราชธานี พร้อมให้เจ้าคำผงเป็นเจ้าเมืองในราชทินนาม "พระประทุมราชวงศา" เจ้าทิตพรหมเป็นพระอุปฮาด เจ้าก่ำเป็นราชวงศ์ เจ้าสุดตาเป็นราชบุตร โดยเป็นคณะอาญาสี่ชุดแรกของเมืองอุบลราชธานี จนถึงกาลเปลี่ยนแผ่นดินปีพุทธศักราช 2334 สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เกิดขบถอ้ายเชียงแก้วเขาโอง ยกกำลังมาตีเมืองนครจำปาศักดิ์ เจ้าฝ่ายหน้าผู้น้องพระประทุมราชวงศาได้ยกกำลังไปรบ สามารถจับอ้ายเชียงแก้วได้ และทำการประหารชีวิตที่บริเวณแก่งตะนะ

ในปีถัดมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเมืองอุบลขึ้นเป็นเมืองประเทศราช แต่งตั้งให้พระประทุมราชวงศาเป็นพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (คำผง) เจ้าครองเมือง "เมืองอุบลราชธานีศรีวนาไล ประเทศราช" พระราชทานพระสุพรรณบัตร และเครื่องยศเจ้าเมืองประเทศราช พร้อมทำพิธีสบถสาบานถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 13 ค่ำ จุลศักราช 1154 ปีชวด จัตวาศก ตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม 2335 โดยเป็นเจ้าเมืองคนแรกของอุบลราชธานี ถึงปี 2338 พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ทิตพรหม) น้อง ชายพระประทุม จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนต่อมา รวมมีเจ้าเมืองอุบลราชธานี ที่พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งทั้งสิ้น 4 ท่าน

ภายหลังการก่อตั้งเมืองอุบลฯ แล้ว ก็ได้มีการตั้งเมืองสำคัญในเขตปกครองของจังหวัดอุบลราชธานีขึ้นอีกหลายเมือง เช่น ใน พ.ศ. 2357 โปรดฯให้ตั้งบ้านโคกพเนียง เป็นเมืองเขมราฐธานี

ปี พ.ศ. 2366 ยกบ้านนาก่อขึ้นเป็นเมืองโขงเจียง (โขงเจียม) โดยขึ้นกับนครจำปาศักดิ์

ปี พ.ศ. 2388 ในรัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านช่องนางให้เป็นเมืองเสนางคนิคม ยกบ้านน้ำโดมใหญ่ขึ้นเป็นเมืองเดชอุดม ให้หลวงอภัยเป็นหลวงยกบัตรหลวงมหาดไทยเป็นหลวงปลัด ตั้งหลวงธิเบศร์เป็นพระศรีสุระ เป็นเจ้าเมือง รักษาราชการแขวงเมืองเดชอุดม

ปี พ.ศ. 2390 ตั้งบ้านดงกระชุหรือบ้านไร่ ขึ้นเป็นเมืองบัวกัน ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นเมืองบัวบุณฑริก หรืออำเภอบุณฑริกในปัจจุบัน

ปี พ.ศ. 2401 ตั้งบ้านค้อใหญ่ ให้เป็นเมือง ขอตั้งท้าวจันทบรม เป็นพระอมรอำนาจ เป็นเจ้าเมือง ตั้งท้าวบุตตะเป็นอุปฮาด ให้ท้าวสิงหราชเป็นราชวงศ์ ท้าวสุริโยเป็นราชบุตร รักษาราชการเมืองอำนาจเจริญขึ้นกับเมืองเขมราฐ

ปี พ.ศ. 2406 ในรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านกว้างลำชะโด ตำบลปากมูล เป็นเมืองพิบูลมังสาหารและให้ตั้งบ้านสะพือ เป็นเมืองตระการพืชผล ตั้งท้าวสุริยวงษ์ เป็นพระอมรดลใจ เป็นเจ้าเมือง

ปี พ.ศ. 2422 ในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านท่ายักขุเป็นเมืองชานุมานมณฑล และให้ตั้งบ้านเผลา (บ้านพระเหลา) เป็นเมืองพนานิคม

ปี พ.ศ. 2423 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านนากอนจอ เป็นเมืองวารินชำราบ

ปี พ.ศ. 2424 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านจันลานาโดม เป็นเมืองโดมประดิษฐ์ (ปัจจุบันเป็นหมู่บ้านที่อำเภอน้ำยืน)

ปี พ.ศ. 2425 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านทีเป็นเมืองเกษมสีมา ซึ่งต่อมาเปลี่ยนเป็นอำเภอม่วงสามสิบนั่นเอง

อุบลราชธานี จึงเป็นเมืองที่มีเขตการปกครองอย่างกว้างขวางที่สุด ทางด้านตะวันออกของภาคอีสานตอนล่างครอบคลุมที่ราบและแม่น้ำสายสำคัญของภาค อีสานถึง 3 สายด้วยกัน คือ แม่น้ำชี แม่น้ำมูล และแม่น้ำโขง อีกทั้งยังมีแม่น้ำสายเล็กๆที่มีกำเนิดจากเทือกเขาในพื้นที่ เช่น ลำเซบก ลำเซบาย ลำโดมใหญ่ เป็นต้น

แม่น้ำทั้งหลายเหล่านี้ไหลผ่านที่ราบทางด้านเหนือและทางด้านใต้ทอด เป็นแนวยาวสู่ปากแม่น่ำมูลและแม่น้ำโขง ยังความอุดมสมบูรณ์ให้แก่พื้นที่ในบริเวณแถบนี้ทั้งหมด ทำให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์มาแต่ โบราณกาล [3]

ในปี พ.ศ. 2476 ได้มีการยกเลิกมณฑลทั้งประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีซึ่งแยกออกมาจากมณฑลนครราชสีมาในขณะนั้น ได้กลายเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หลังจากนั้นจังหวัดอุบลราชธานีก็ได้ถูกแบ่งออก โดยอำเภอยโสธรและอำเภอใกล้เคียงเป็นจังหวัดยโสธร ในปี พ.ศ. 2515 และต่อมาปี 2536 ได้ถูกแบ่งอีกครั้ง โดยอำเภออำนาจเจริญและอำเภอใกล้เคียงเป็นจังหวัดอำนาจเจริญ ปัจจุบันจังหวัดอุบลราชธานีมีพื้นที่เป็นอันดับ 5 ของไทย และมีประชากรลำดับที่ 3 ของประเทศ
[แก้] ลักษณะภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา

จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ในเขตที่มีปริมาณน้ำฝนค่อนข้างสูง เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยของจังหวัดอื่น ๆ

ฤดูฝน จะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไปจนถึงปลายเดือนตุลาคม และมักปรากฏเสมอว่าฝนทิ้งช่วงในเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม แต่ระยะเวลาการทิ้งช่วงมักจะไม่เหมือนกันในแต่ละปี และในช่วงปลายฤดูฝน มักจะมีพายุดีเปรสชั่นฝนตกชุกบางปีอาจมีภาวะ น้ำท่วมแต่ภาวะการณ์ไม่รุนแรงนัก

ฤดูหนาว เนื่องจากเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศ ทำให้ได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือก่อนภูมิภาคอื่น อุณหภูมิจะเริ่มลดต่ำลงตั้งแต่เดือนตุลาคมและจะสิ้นสุดปลายเดือนมกราคม

ฤดูร้อน ถึงแม้ว่าเคยปรากฏบ่อยครั้งว่าอากาศยังคงหนาวเย็นยืดเยื้อมาจนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ โดยส่วนใหญ่แล้วอากาศจะ เริ่มอบอ้าว ในเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงประมาณต้นเดือนพฤษภาคมซึ่งอาจจะมีฝน เริ่มตกอยู่บ้างในปลายเดือนเมษายน แต่ปริมาณน้ำฝนมักจะไม่เพียงพอสำหรับการเพาะปลูก นอกจากนั้นลักษณะภูมิอากาศทั่วไปคล้ายคลึงกับจังหวัดอื่น ๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ จะมีอากาศร้อน ในฤดูหนาวค่อนข้างหนาว ส่วนในฤดูฝนจะมีฝนตกชุก ในช่วงเดือนมกราคมถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2541 มีฝนตกประมาณ 106 วัน ปริมาณน้ำฝนวัดได้ 1,297.3 มิลลิเมตร

ການສ້າງເມືອງຂູຂັນ

ก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา

ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ของเมืองขุขันธ์ ไม่ปรากฏหลักฐานแน่นอน มีการจดบันทึกไว้พอสังเขป ส่วนมากได้จากคำบอกเล่าของผู้สูงอายุเล่าต่อๆ กันมา เอาความแน่นอนไม่ได้นัก นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีสันนิษฐานว่า พื้นที่ภาคอีสานในปัจจุบันเคยเป็นที่อยู่ของพวกละว้าและลาว มีแว่นแคว้นอาณาเขตปกครองเรียกว่า "อาณาจักรฟูนัน"

ประมาณปี พ.ศ.1100 พวกละว้าที่เคยมีอำนาจปกครอง อาณาจักรฟูนันเสื่อมอำนาจลง ขอมเข้ามามีอำนาจแทนและตั้งอาณาจักรเจนละหรืออิศานปุระขึ้น พวกละว้าถอยร่นไปทางเหนือ ปล่อยให้พื้นที่ภาคอีสานรกร้างว่างเปล่าเป็นจำนวนมากเขตพื้นที่เมืองขุขันธ์ และจังหวัดใกล้เคียงจึงถูกทิ้งให้เป็นที่รกร้างและเป็นป่าดง ขอมได้แบ่งการปกครองเป็น 3 ภาคโดยมีศูนย์การปกครองอยู่ที่ละโว้(ลพบุรี) พิมาย(นครราชสีมา)และสกลนคร มีฐานะเป็นเมืองประเทศราช ขึ้นตรงต่อศูนย์ กลางการปกครองใหญ่ที่นครวัด

ในยุคที่ขอมเรืองอำนาจ เมืองขุขันธ์น่าจะเป็นดินแดนแห่งหนึ่งที่ขอมใช้เป็นเส้นทางไปมาระหว่างเมืองประเทศราชดังกล่าวแล้ว เพราะปรากฏโบราณสถานโบราณวัตถุของขอมซึ่งกรมศิลปากรสำรวจในจังหวัดศรีสะเกษ เมื่อ พ.ศ. 2512 จำนวน 15 แห่ง ไม่รวมเขาพระวิหารซึ่งเป็นเทวะสถานของขอมที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่ง นอกจากนี้ยังมีปราสาทหินสระกำแพงใหญ่สระกำแพงน้อย ปราสาทลุมพุก ปราสาทบ้านทามจาน (บ้านสมอ) ปราสาทเยอ ปราสาทโดนต็วล (ช่องตาเฒ่า อ.กันทรลักษ์) สันนิษฐานว่าโบราณสถานเหล่านี้มีอายุประมาณ 1,000 ปีเศษมีอยู่ตามท้องที่อำเภอต่างๆ ของจังหวัดศรีสะเกษ ขอมคงสร้างขึ้นเพื่อเป็นที่พักและประกอบพิธีทางศาสนาระหว่างเดินทางจากนครวัด นครธมข้ามเทือกเขาพนมดงรักษ์มาสู่ศูนย์กลางการปกครองภาคอีสานทั้ง 3 เมืองดังกล่าวแล้ว

เมื่อขอมเสื่อมอำนาจลงไทยเริ่มมีอำนาจครอบครองดินแดนเหล่านี้ขณะเดียวกันอำเภอขุขันธ์มีสภาพเป็นป่าดงอยู่นานเพราะแม้แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางก็มิได้บันทึกกล่าวถึงเมืองขุขันธ์ในเอกสารใด เพิ่งจะได้มีการบันทึกหลักฐานในพงศาวดารกล่าวถึงเมืองสุรินทร์ด้วย
[แก้ไข] สมัยกรุงศรีอยุธยา

ในสมัยกรุงศรีอยุธยาอาณาจักรไทยกว้างขวางมาก มีชาวบ้านป่าซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ( MINORITY TRIBE ) อาศัยอยู่แถบเมืองอัตปือแสนแป แคว้นจำปาสักฝั่งซ้ายแม่น้ำโขง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวปัจจุบัน ชนพวกนี้เรียกตัวเองว่า "ข่า" ส่วย" "กวย" หรือ "กุย"อยู่ในดินแดนของราชอาณาจักรไทย โดยสมบูรณ์ (เพิ่งเสียให้ฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ.2436หรือ ร.ศ.112)พากนี้มีความรู้ความสามารถในการจับช้างป่ามาเลี้ยงไว้ใช้งาน ชาวส่วยหรือชาวกวยได้อพยพย้ายที่ทำมาหากินข้ามมาฝั่งขวาแม่น้ำโขง เนื่องจากชาวเมืองศรีสัตนาคนหุต(เวียงจันทน์)ได้เข้าไปตั้งถิ่นฐานแย่งที่ทำมาหากิน

ในปี พ.ศ.2260 ชาวส่วยได้อพยพแยกออกเป็นหลายพวกด้วยกัน แต่ละพวกมีหัวหน้าควบคุมมา เช่น เซียงปุม เซียงสี เซียงสง ตากะจะและเซียงขัน เซียงฆะ เซียงไชย หัวหน้าแต่ละคนก็ได้หาสมัครพรรคพวกไปตั้งรกรากในที่ต่าง ๆ กันเวียงปุม อยู่ที่บ้านที เซียงสีหรือตะกะอาม อยู่ที่รัตนบุรี เซียงสงอยู่บ้านเมือลีง (อำเภอจอมพระ) เซียงฆะ อยู่ที่สังขะ เวียงไชย อยู่บ้านจารพัด (อำเภอศรีขรภูมิ) ส่วนตากะจะและเซียงขัน อยู่ที่บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน(บ้านดวนใหญ่ปัจจุบัน)

พวกส่วยเหล่านี้อยู่รวมกันเป็นชุมชนใหญ่ หาเลี้ยงชีพด้วยการเกษตรและหาของป่ามาบริโภคใช้สอย มีการไปมาหาสู่ติดต่อกันระหว่างพวกส่วยอยู่เสมอ มีสภาพภูมิประเทศติดต่อเขตกัมพูชา และมีเทือกเขาพนมดงรักเป็นเส้นกันเขตแดน ป่าดงเขตนี้มีฝูงสัตว์ป่าอุดมสมบูรณ์ โขลงช้างพัง ช้างพลาย ฝูงเก้งกวาง ละมั่งและโคแดงอยู่มากมายตามทุ่งหญ้าและราวป่า เหมาะกับการทำมาหาเลี้ยงชีพของชาวส่วยอย่างยิ่ง

พ.ศ.2302 ปีเถาะ จุลศักราช 1181 ตรงกับสมัยแผ่นดินพระบรมราชาที่ 3หรือพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ (พระเจ้าเอกทัศน์)กษัตริย์องค์สุดท้ายของกรุงศรีอยุธยา พระยาช้างเผือกของพระองค์ได้แตกออกจากโรงช้างต้นในกรุงศรีอยุธยา เดินทางมาทิศตะวันออกเฉียงเหนือ โปรดให้ทหารเอกคู่พระทัยสองพี่น้อง(เข้าใจว่าสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก พระนามเดิมทองด้วง และกรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท พระนามเดิมบุญมา) คุมไพร่พล 30 นาย ออกติดตามผ่านมาแขวงพิมาย ทราบจากเจ้าเมืองพิมายว่า ในดงริมเขาพนมดงรักมีพวกส่วยชำนาญในการจับช้าง เลี้ยงช้าง สองพี่น้องกับไพร่พล จึงได้ติดตามสองพี่น้องไปเซียงสีไปที่บ้านกุดหวาย(อำเภอรัตนบุรี) เซียงสีจึงได้พาสองพี่น้องและไพร่พลไปตามหาเซียงสง ที่บ้านเมืองลีง เซียงปุ่มที่บ้านเมืองที เซียงไชยที่บ้านกุดปะไท ตากะจะและเซียงขัน ที่บ้านโคกลำดวน เซียฆะที่บ้านอัจจะปะนึง (เขตอำเภอสังขะ) ทุกคนร่วมเดินทางติดตามพระยาช้างเผือก สองพี่น้องและหัวหน้าป่าดงทั้งหมด ได้ติดตามล้อมจับพระยาช้างเผือกได้ที่บ้านหนองโชก ได้คืนมาและนำส่งถึงกรุงศรีอยุธยา ด้วยความดีความชอบในครั้งนี้สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวสุริยามรินทร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตั้งให้หัวหน้าบ้านป่าดงมีบรรดาศักดิ์ทั้งหมด ตากะจะหัวหน้าหมู่บ้านโคกลำ - ดวน ได้เป็นหลวงแก้วสุวรรณเซียงขันได้เป็นหลวงปราบอยู่กับตากะจะ

ต่อมาหัวหน้าหมู่บ้านป่าดงทั้ง 5 ได้พากันไปเฝ้าสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ กรุงศรีอยุธยา โดยนำสิ่งของไปทูลเกล้าฯ ถวาย คือช้าง ม้า แก่นสน ยางสน ปีกนก นกระมาด (นอแรด)งาช้าง ขี้ผึ้งน้ำผึ้ง เป็นการส่งส่วยตามพระราชประเพณี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระที่นั่งสุริยามรินทร์ ทรงพิจารณาเห็นความดีความชอบเมื่อครั้งได้ช่วยเหลือจับพระยาช้างเผือก และเมื่อหัวหน้าหมู่บ้านได้นำสิ่งของไปทูลเกล้าฯ ถวาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งบรรดาศักดิ์ให้หัวหน้าหมู่บ้านสูงขึ้นทุกคน

ในปี พ.ศ.2302 นี้เอง หลวงแก้วสุวรรณ(ตากะจะ) บ้านโคกลำดวนได้บรรดาศักดิ์เป็นเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนมีพระบรมราชโองการยกบ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวน ซึ่งเดิมเรียกว่า "เมืองศรีนครลำดวน" ขึ้นเป็นเมืองขุขันธ์แปลว่า "เมืองป่าดง"ให้พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเป็นเจ้าเมืองปกครอง
[แก้ไข] สมัยกรุงธนบุรี

เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าในปี พ.ศ.2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงกอบกู้อิสรภาพและทรงตั้งกรุงธนบุรีเป็นราชธานี พ.ศ.2321 ปีจอ จุลศักราช 1140 กรุงศรีสัตนาคนหุต(เวียงจันทน์)เป็นกบฏต่อไทยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรีได้โปรดเกล้าฯให้สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กับเจ้าพระยาสุรสีห์เป็นแม่ทัพยกขึ้นไปทางเมืองพิมายแม่ทัพสั่งให้เจ้า เมืองพิมาย แต่งข้าหลวงออกมาเกณฑ์กำลังเมืองประทายสมันต์ (จังหวัดสุรินทร์) เมืองสังฆะ เมืองขุขันธ์ เมืองรัตนบุรี เป็นทัพบกยกไปตีเมืองเวียงจันทน์ เมืองจำปาศักดิ์ ได้ชัยชนะยอมขึ้นต่อไทยทั้งสองเมือง กองทัพไทยเข้าเมืองเวียงจันทน์ ได้อัญเชิญพระแก้วมรกต และพระบางพร้อมคุมตัวนครจำปาศักดิ์ไชยกุมารกลับกรุงธนบุรีในการศึกครั้งนี้เมื่อเดินทางกลับ หลวงปราบ (เซียงขัน) ทหารเอกในกองทัพ ได้หญิงม่ายชาวลาวคนหนึ่งกลับมาเป็นภรรยา มีบุตรชายติดตามมาด้วยชื่อท้าวบุญจันทน์

พ.ศ.2324 เมืองเขมรเกิดจราจล สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกกับพระยาสุรสีห์ ได้รับพระบรมราชโองการให้เป็นแม่ทัพยกกองทัพไปปราบจราจลครั้งนี้ โดยเกณฑ์กำลังของเมืองปะทายสมันต์ เมืองขุขันธ์ และเมืองสังฆะ สมทบกับกองทัพหลวงออกไปปราบปราม กองทัพไทยยกไปตีเมืองเสียมราฐ กำพงสวาย บรรทายเพชร บรรทายมาศ และเมืองรูงตำแรย์ (ถ้ำช้าง) เมืองเหล่านี้ยอมแพ้ ขอขึ้นเป็นขอบขัณฑสีมา เสร็จแล้วยกทัพกลับกรุงธนบุรี เมื่อเสร็จสงครามเวียงจันทน์ และเมืองเขมรแล้ว ได้ปูนบำเหน็จให้แก่เจ้าเมืองปะทายสมันต์ เมืองขุขันธ์ และเมืองสังฆะ เลื่อนบรรดาศักดิ์ให้เป็นพระยาให้พระยาทั้งสามเมือง เจ้าเมืองขุขันธ์ ได้บรรดาศักดิ์ใหม่ จากพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน เป็นพระยาขุขันธ์ภักดี ในปีเดียวกันนั้นเอง พระยาขุขันธ์ภักดี (ตากะจะ) ถึงแก่อนิจกรรมจึงโปรดให้หลวงปราบ (เซียงขัน) ขึ้นเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน เจ้าเมืองขุขันธ์ ต่อมาเมืองขุขันธ์ที่บ้านปราสาทสี่เหลี่ยมดงลำดวนกันดารน้ำ พระยาไกรภักดีฯ จึงอพยพเมืองย้ายมาอยู่บ้านแตระ (แตระ) ตำบลห้วยเหนือ ที่ตั้ง อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน
[แก้ไข] สมัยกรุงรัตนโกสินทร์

พ.ศ.2325 ปีขาล จุลศักราช 1144 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสด็จเถลิงถวัลย์ราชสมบัติ พระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน (เซียงขัน) ได้บรรดาศักดิ์เป็นพระยาขุขันธ์ภักดี ได้มีใบบอกกราบบังคมทูลข้อตั้งท้าวบุญจันทร์ เป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวน ผู้ช่วยเจ้าเมือง อยู่มาวันหนึ่ง พระยาขุขันธ์ภักดี เผลอเรียกพระยาไกรภักดีฯ(บุญจันทร์)ว่า "ลูกเชลย" พระยาไกรภักดีจึงโกรธและผูกพระยาบาทภายหลังมีพ่อค้าญวน 30 คน มาซื้อโคกระบือที่เมืองขุขันธ์ พระยาขุขันธ์ภักดีอำนวยความสะดวกและจัดที่พักให้ญวนตลอดจนให้ไพร่นำทางไปช่องโพย ให้พวกญวนนำโค กระบือไปยังเมืองพนมเปญได้สะดวก พระยาไกรภักดีฯ (บุญจันทร์) ได้กล่าวโทษมายังกรุงเทพฯ และโปรดเกล้า ให้เรียกตัวพระยาขุขันธ์ไปลงโทษและจำคุกไว้ที่กรุงเทพฯ แล้วโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งพระยาไกรภักดีฯ(บุญจันทร์) เป็นเจ้าเมืองขุขันธ์แทน

ในปี พ.ศ.2325 นี้ พระภักดีภูธรสงคราม (อุ่น) ปลัดเมืองขุขันธ์ กราบบังคมทูลขอแยกจากขุขันธ์ไปตั้งที่บ้านโนนสามขาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกบ้านโนนสามขาขึ้นเป็นเมือง "ศรีสระเกศ" ต่อมาปี พ.ศ.2328 ได้ย้ายเมืองศรีสระเกศจากบ้านโนนสามขา มาตั้ง ณ บ้านพันทาเจียงอีอยู่ในเขตเทศบาลเมือง ศรีสะเกษ ทุกวันนี้

พ.ศ.2342 มีโปรดเกล้าฯ ให้เกณฑ์กำลังเมืองสุรินทร์ เมืองขุขันธ์ เมืองสังฆะ เมืองละ 100 รวม 300 ยกทัพไปตีพม่าซึ่งยกมาตั้งในเขตนครเชียงใหม่ กองทัพไทยมิทันไปถึง กองทัพพม่าก็ถอยกลับ จึงโปรดเกล้าฯให้กองทัพไทยยกกลับ

พ.ศ.2350 ทรงพระราชดำริว่า เมืองสุรินทร์ เมืองสังฆะ และเมืองขุขันธ์ เป็นเมืองเคยตามเสด็จพระราชดำเนินในการพระราชสงครามหลายครั้งมีความชอบมาก จึงโปรดเกล้าฯ ให้ทั้ง 3 เมือง ขึ้นตรงต่อกรุงเทพฯ มีอำนาจชำระคดีได้เอง ไม่ต้องขึ้นต่อเมืองพิมายเหมือนแต่ก่อน

พ.ศ.2369 รัชสมัยสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าอนุวงศ์ เมืองเวียงจันทน์แต่งตั้งให้เจ้าอุปราช(สีถาน) กับเจ้าราชวงศ์เมืองเวียงจันทรน์ คุมกองทัพบกเข้าตีเมืองรายทางเข้ามาจนถึงเมืองนครราชสีมา ฝ่ายทางเมืองจำปาศักดิ์ เจ้านครจำปาศักดิ์(เจ้าโย่) เกณฑ์กำลังยกทัพมาตีเมืองขุขันธ์จับพระไกรภักดีศรีนครลำดวน (บุญจันทร์) เจ้าเมืองขุขันธ์ กับพระภักดีภูธรสงคราม (มานะ) ปลัดเมืองกับพระแก้วมนตรี(ทศ) ยกกระบัตรกับกรมการได้ ฆ่าตายทั้งหมด เจ้าเมืองสังฆะ และเมืองสุรินทร์หนีได้ทัน กองทัพจำปาศักดิ์ ตั้งค่ายอยู่ที่บ้านส้มป่อย แขวงเมืองขุขันธ์ค่ายหนึ่ง และค่ายอื่น ๆ สี่ค่าย กวาดต้อนครอบครัวไทยเขมรไปเมืองจำปาศักดิ์ จากนั้นมาเมืองขุขันธ์ ไม่มีข้าราชการปกครอง โปรดเกล้าฯ ให้พระยาสังฆะ ไปเป็นพระยาไกรภักดีศรีนครลำดวนเจ้าเมือง ให้พระไชยเป็นพระภักดีภูธรสงครามปลัดเมือง ให้พระสะเทื้อน (นวน) เป็นพระแก้วมนตรียกกระบัตรเมือง ให้ท้ายหล้า บุตรพระยาขุขันธ์ (เซียงขัน) เป็นมหาดไทยช่วยกันรักษาเมืองขุขันธ์ต่อไป จากนั้นมาได้มีการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งเจ้าเมืองและนามเจ้าเมืองหลายครั้ง

พ.ศ.2426รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระยาขุขันธ์ (ปัญญา) เจ้าเมืองกับพระปลัด(จันลี)ได้นำช้างพังสีประหลาดหนึ่งเชือกลงมาน้อมเกล้าฯ ถวายที่กรุงเทพฯ

พ.ศ.2433 มีสารตราโปรดเกล้าฯ ให้เมืองศรีสระเกศ (ชื่อเดิม) ไปอยู่ในบังคับบัญชาของข้าหลวงใหญ่ได้โปรดให้หลวงจำนงยุทธกิจ (อิ่ม) กับขุนไผทไทยพิทักษ์(เกลื่อน) เป็นข้าหลวงเมืองศรีสระเกศ

พ.ศ.2435 โปรดเกล้าฯ ให้จัดรูปการปกครองแบบมณทลเมือง ศรีสะเกศขึ้นอยู่กับมณฑลอีสานกองบัญชาการมณฑลอยู่ที่จังหวัดอุบลราชธานี

พ.ศ.2445 เปลี่ยนชื่อมณฑลอีสานเป็น มณฑลอุบลมีเมืองขึ้น 3 เมืองคือ อุบลราชธานี ขุขันธ์ และสุรินทร์ ไม่ปรากฏชื่อเมืองศรีสระเกศสันนิษฐานว่าเมืองศรีสระเกศถูกยุบลงเป็นอำเภอขึ้นกับเมืองขุขันธ์ซึ่งเป็นเมืองเก่ามาแต่เดิม

พ.ศ.2447 ย้ายที่ตั้งเมืองขุขันธ์ (ซึ่งอยู่ที่บ้านแตระ ตำบลห้วยเหนืออำเภอขุขันธ์ในปัจจุบัน) มาอยู่ที่ตำบลเมืองเก่า (ปัจจุบันคือตำบลเมืองเหนือในเขตเทศบาลเมืองศรีสะเกษในปัจจุบัน) และยังคงใช้ชื่อ "เมืองขุขันธ์" ยุบเมืองขุขันธ์เดิมเป็นอำเภอห้วยเหนือ (อำเภอขุขันธ์ในปัจจุบันนี้)

พ.ศ.2459 กระทรวงมหาดไทย มีประกาศให้เปลี่ยนชื่อเมืองทุกเมืองเป็นจังหวัด เมืองขุขันธ์จึงเป็นเป็นจังหวัดขุขันธ์ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ.2459 เปลี่ยนผู้ว่าราชการเมืองเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด

พ.ศ.2481 มีพระราชกฤษฎีกา เปลี่ยนชื่อจังหวัดขุขันธ์ เป็นจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน

ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ

ความเป็นมาของคำสยาม ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ[1] เป็นงานชิ้นสุดท้ายของ จิตร ภูมิศักดิ์ งานค้นคว้านี้สันนิษฐานที่มาของคำต่างๆ โดยชี้ให้เห็นถึงความเชื่อมโยงของลักษณะเชื้อชาติ ลักษณะทางสังคม ชีวิตความเป็นอยู่ของชาติพันธุ์ต่าง ๆ ในแถบสุวรรณภูมิ ที่ปรากฏขึ้นในรูปภาษา ถือเป็นงานทางนิรุกติศาสตร์และภาษาศาสตร์สังคมที่มีความโดดเด่นอย่างมาก

งานค้นคว้าที่ยังเขียนไม่เสร็จนี้ จิตรใช้เวลาเขียนอยู่ประมาณ 7 ปี ในขณะที่ถูกจองจำอยู่ในคุกลาดยาว ช่วง พ.ศ. 2501-2507[2] เขาได้มอบต้นฉบับให้แก่ สุภา ศิริมานนท์ รักษาต้นฉบับไว้โดยใส่กล่องฝังดินไว้ในสวนฝั่งธนบุรี หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 จึงมีการขุดค้นขึ้นมาตีพิมพ์ โดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ หนังสือเล่มดังกล่าวพิมพ์ครั้งแรก 5,000 เล่ม ก่อนหน้าเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ไม่นานนัก มีหนังสือตกถึงมือผู้อ่านไม่มากนักเพราะส่วนใหญ่ถูกเผาทิ้งทำลายในสมัยธานินทร์ กรัยวิเชียรเป็นนายกรัฐมนตรี

หนังสือนี้แบ่งเป็นสามภาค คือ พื้นฐานทางนิรุกติศาสตร์และประวัติศาสตร์, ชื่อชนชาติและฐานะทางสังคม, และ ข้อเท็จจริงว่าด้วยชนชาติขอม ภาคที่หนึ่งและสองนี้ ต้นฉบับถูกเก็บรักษาไว้ด้วยกัน ส่วนภาคที่สามเป็นส่วนที่พบภายหลังและได้เพิ่มเข้ามาในการจัดพิมพ์ครั้งที่สามเมื่อ พ.ศ. 2535

ความเป็นมาของคำสยามฯ ได้รับคัดเลือกเป็นหนึ่งในหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ในโครงการวิจัยซึ่งได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุน

จิตรสรุปว่า "ไทย" เป็นคำที่คนไทยเรียกตัวเอง ส่วน "สยาม" เป็นคำที่ชนชาติอื่นเรียกคนไทย จิตรทำการค้นคว้าหาที่มาของคำทั้งสองโดยปราศจากอคติชาตินิยมที่ว่าคำทั้งสองต้องมีความหมายในทางที่ดีหรือเป็นมงคลและมาจากภาษาที่สูงส่งอย่างบาลีสันสกฤตเท่านั้น

จิตรมีความเห็นเกี่ยวกับคำว่าสยามดังนี้ "ต้องแปลว่า ลุ่มน้ำ หรือเกี่ยวกับ น้ำ ซึ่งสอดคล้องกับสภาพชีวิตของสังคมชมรมกสิกรรมในที่ราบลุ่มของคนชาวไต" โดยมีที่มาจากภาษาหนานเจ้าตามที่ระบุไว้ในพงศาวดารราชวงศ์หยวน

ส่วนคำว่าไทย จิตรเชื่อว่ามีวิวัฒนาการและความหมายมาเป็นลำดับ เกิดจากการปฏิเสธการดูหมิ่นของชนชาติอื่นที่ว่าคนไทยเป็นคนบ้านป่าเมืองเถื่อน โดยเริ่มแรก "ไท" มีความหมายว่า คนสังคม หรือ คนเมือง ต่อมาเป็นวรรณะหรือฐานันดรทางสังคม ซึ่งแปลว่าเสรีชน และภายใต้ความคิดรัฐชาติในสมัยรัชกาลที่ 6 จึงเกิดความหมายในยุคใหม่ที่แปลว่า อิสระ เอกราช และผู้เป็นใหญ่

ສຍາມ(ສະຫຍາມ)

- ສຍາມ ເປັນຊື່ເດີມຂອງປະເທດໄທຍ໌ໃນປັດຈຸບັນ, ຄຳວ່າສຍາມ, ອັກສອນລາຕິນຂຽນ(Siam), ອັກສອນສັນສະກຣິດຂຽນ(श्याम), ອັກສອນລາວອະດີດຂຽນ(ສຍາມ) ອັກສອນລາວປັດຈຸບັນຂຽນ(ສະຫຍາມ), ໃນບົດຂຽນນີ້ກຳນົດຂຽນສຍາມ(ທັງນີ້ ເພື່ອໃຫ້ຖືກຕ້ອງ ຕາມການອອກສຽງສາກົນ ຂອງໄທຍ).

- ສຍາມ ເປັນຊື່ຮຽກຂອງປະເທດໄທຍ໌ໃນສະໄໝບູຮານ ແຕ່ບໍ່ແມ່ນຊື່ຄົນໄທຍ໌ໃຊ້ຮຽກຕົນເອງ, ສຍາມ ເປັນຊື່ຢ່າງເປັນທາງການຂອງໄທຍ໌ ໃນສະໄໝຂອງກະສັດໄທຍ໌ພຣະຈອມເກົ້າເປັນຕົ້ນມາ ແຕ່ໄດ້ມີການປ່ຽນຊື່ມາເປັນ "ໄທຍ໌" ເມື່ອວັນທີ 24 ມິຖຸນາ 2482 (ຄ.ສ 1939) ໃນອະດີດພຣະມະຫາກະສັດໄທຍ໌ ຊົງໃຊ້ຊື່ສຍາມ ໃນການທຳສົນທິສັນຍາກັບຕ່າງຊາດ ເປັນເວລາຫຼາຍສະຕະວັດ ອັນເນື່ອງມາຈາກອານາຈັກສຍາມນີ້ ປະ ກອບດ້ວຍຊົນຫຼາຍຊົນຊາດ ອາທິ ໄທ, ລາວ, ມອນ, ຍວນ, ຂະເໝນ, ແຂກ, ຈີນ, ຝຣັ່ງ ແລະມາລາຍູ, ພຣະ ມະຫາກະສັດໄທຍ ຈຶ່ງຮຽກດິນແດນແຫ່ງນີ້ວ່າ ປະເທດສຍາມ ເພື່ອຄວາມເປັນອັນໜຶ່ງອັນດຽວກັນຂງປະຊາຊົນ ອີກ ທັງນີ້ຊື່ສຍາມນັ້ນ ກໍຍັງຄົງເປັນທີ່ຮູ້ກັນຢ່າງ ແຜ່ຫຼາຍໃນວົງການຂອງຕ່າງປະເທດອີກດ້ວຍ.

- ຫາກອ້າງອິງ ຕາມນີ້ ທີ່ຄົນໄທຍ໌ໃນປັດຈຸບັນອ້າງສະເໝີວ່າ “ສຍາມ” ເປັນຊື່ທີ່ຄົນຕ່າງຊາດຮຽກຄົນໄທຍ໌ປະເທດໄທຍ໌ ບໍ່ແມ່ນຄົນໄທຍ໌ຮຽກຕົນເອງ ກໍບໍ່ແມ່ນຄວາມຈິງ ເພາະຄຳວ່າສຍາມ ໄດ້ປະກົດຕົວໃນປະຫວັດສາດໄທຍ໌ສະໄໝອະຍຸທະ ຍາພຸ້ນມາ.
- ຫາກວິເຄາະຕາມນັກປະຫວັດສາດລຸ່ນໃໝ່ຂອງໄທຍ ພະຍາມບອກວ່າ ສຍາມ ເປັນຊື່ທີ່ຕ່າງຊາດຮຽກ ບໍ່ແມ່ນ ຄົນໄທຍ໌ຮຽກຕົນເອງ, ຖ້າເປັນເຊັ່ນນັ້ນຈິງ ກໍອາດຕີຄວາມໝາຍວ່າ ຫົວເມືອງຕ່າງໆ ໃນພາກພື້ນດຽວກັນກໍຄົງຮຽກ ຄົນອາຍຸທະຍາ ວ່າ “ສຍາມດ້ວຍ” ເຊັ່ນເມືອງລົບບູຣີ, ລ້ານຊ້າງ, ລ້ານນາ, ຫົງສາ, ມາລາຢູ, ນະຄອນສີທຳທຳມະລາດ ແລະຂະເໝນ ຕລອດຮອດອານາມ, ດາຍຫວຽດ ເພາະດິນແດນເລົ່ານີ້ລ້ວນແຕ່ມີຊື່ຊົນຊາດຂອງຕົນເປັນ ຊາດ ເຊັ່ນໄທລາວ, ຂະແມ, ມາລາຍູ, ອານາມ, ດາຍຫວຽດ ຖ້າເປັນເຊັ່ນນັ້ນແທ້ ເມືອງສຍາມ ໃນອະດິດ ກໍຄົງຈະມີ ອານາເຂດແຕ່ພຽງອາຍຸທະຍາ ແລະເມືອງບໍລິວານ ໃນເຂດແມ່ນໍ້າເຈົ້າພະຍາຕອນກາງ ແລະໃຕ້ເທົ່ານັ້ນ ເພາະເມືອງເລົ່ານັ້ນລ້ວນແຕ່ເອກະລາດ.

ໄທຍ໌ຕັ້ງນະຄອນຈຳປາສັກ ເປັນຈັງຫວັດ ຫຼັງໄດ້ຄືນຈາກຝຣັ່ງ

- ຈັງຫວັດນະຄອນຈຳປາສັກ ເປັນ 1 ໃນ 4 ຈັງຫວັດທີ່ປະເທດໄທຍ ໄດ້ດິນແດນຄືນຈາກຝຣັ່ງເສດໃນຊ່ວງ ພ.ສ 2484 (ຄ.ສ 1941) ໂດຍຍົກທ້ອງທີ່ການປົກຄອງເມືອງຈຳປາສັກ ເຊິ່ງຂຶ້ນຢູ່ກັບມົນທົນອຸບົລຣາຊະທານີ ໃນສະໄໝຣາຊະການທີ 5 ແລະຕົກຢູ່ພາຍໃຕ້ການປົກຄອງຂອງຝຣັ່ງເສດ ເມື່ອປີ ພ.ສ 2447 (ຄ.ສ 1904) ຂຶ້ນເປັນຈັງຫວັດ ພາຍຫຼັງສົງຄາມໂລກຄັ້ງທີ 2 ໄທຍ໌ຕ້ອງສົ່ງດິນແດນກັ່ງກ່າວໃຫ້ຝຣັ່ງເສດ ເຊິ້ງປົກຄອງປະເທດລາວໃນຂະນະນັ້ນ ພາຍຫຼັງປະເທດລາວໄດ້ຮັບເອກະຣາຊຈາກຝຣັ່ງເສດແລ້ວ ພື້ນທີ່ດັ່ງກ່າວຈຶ່ງໄດ້ຍົກຂຶ້ນເປັນແຂວງຈຳປາສັກ ຂອງລາວໃນປັດຈຸບັນ.

- ອັນໜຶ່ງ ພື້ນທີ່ຂອງຈັງຫວັດນີ້ຍັງກິນອານາບໍຣິເວນພື້ນທີ່ສ່ວນໜຶ່ງຂອງຈັງຫວັດ(ແຂວງ) ຊຽງແຕງ ແລະພື້ນທີ່ສ່ວນໃຫຍ່ຂອງຈັງຫວັດ(ແຂວງ)ພະວິຫານ ໃນປະເທດກັມປູເຈັບ ໃນປັດຈຸບັນນີ້ດ້ວຍ.

- ກົມສີລະປະກອນໄດ້ກຳນົດໃຫ້ຈັງຫວັດ(ແຂວງ) ໃຊ້ຕາປະຈຳຈັງຫວັດ(ແຂວງ) ເປັນຮູບປຣາສາດວັດພູ ອັນເປັນບູຮານສະຖານສຳຄັນຂອງ ເມືອງຈຳປາສັກ ຢ່າງໃດກໍຕາມ ໃນໜັງສືຕາປະຈຳຈັງຫວັດຂອງກົມສີລະປະກອນ ພິມເມື່ອ ພ.ສ 2542 (ຄ.ສ 1999) ບໍ່ໄດ້ລົງພິມຮູບຕາດັ່ງກ່າວໄວ້ດ້ວຍ.

ການຈັດການປົກຄອງ
- ແຜນທີ່ດິນແດນຈັງຫວັດນະຄອນຈຳປາສັກ (ສະແດງດ້ວຍພື້ນທີ່ສີຂຽວ)
- ເມື່ອແຮກຕັ້ງຈັງຫວັດ(ແຂວງ)ນັ້ນ ໄດ້ແບ່ງການປົກຄອງອອກເປັນ 6 ອຳເພຮ(ເມືອງ) ຕາມປະກາດເຣື່ອງຕັ້ງອຳເພີ ລົງວັນທີ 23 ກໍຣະກົດ ພຸດທະສັງກາດ 2484 (ຄ.ສ 1941) ດັ່ງນີ້:

1. ອຳເພີເມືອງນະຄອນຈຳປາສັດ (ຕາມເຂຕອຳເພີນະຄອນຈຳປາສັກເດີມ)
2. ອຳເພີວັນໄວທະຍາກອນ(ຕາມເຂຕອຳເພີມຸລະປາໂມກເດີມ)
3. ອຳເພີທາຣາບໍຣິວັຕຣ໌(ຕາມເຂຕອຳເພີທາຣາບໍຣິວັດເດີມ)
4. ອຳເພີມະໂນໄພຣ (ຕາມເຂດອຳເພີມະໂນໄພຣເດີມ)
5. ກິ່ງອຳເພີໂພນທອງ (ຕາມເຂຕກິ່ງອຳເພີໂພນທອງເດີມ)

- ຫຼັງຈາກວັນທີ 8 ສິງຫາ ພ.ສ 2484 (ຄ.ສ 1941) ສະພາຜູ້ແທນຣາສະດອນ ໄດ້ພິຈາຣະນາຕັ້ງສານຈັງຫວັດ ໂດຍຄະນະຜູ້ສຳເຣັດຣາຊະ ການແທນພຣະອົງ ປະກາດໃຈຣາຊະກິດຈານຸເປກສາ ວັນທີ 12 ສິງຫາ ພ.ສ 2484 (ຄ.ສ 1941) ຕໍ່ມາທາງການໄດ້ປັບປຸງເຂຕການປົກ ຄອງ ຈັງຫວັດນະຄອນຈຳປາສັກໃໝ່ ໂດຍໂອນທ້ອງທີ່ອຳເພີ ຈອມກະສານ ຈັງຫວັດພິບູນສົງຄາມ ມາຂຶ້ນກັບນະຄອນຈຳປາສັກ ທຳໃຫ້ນະຄອນຈຳປາສັກ ມີເຂຕການປົກຄອງຈົນເຖິງ ພກສ 2489 (ຄ.ສ 1946) ຣວມທັງສິ້ນ 6 ອຳເພີ(ເມືອງ) ອຳເພີນະຄອນຈຳປາສັກ ອຳເພິວັນທະຍາກອນ, ອຳເພີທາຣາບໍຣິວັຕຣ໌: ອຳເພີມະໂນໄພຣ, ອຳເພີຈອມກະສານ ແລະກິ່ງອຳເພີໂພນທອງ.

- ອັນໜຶ່ງ, ທາງຣາຊະການໄດ້ຄືນຖານະໃຫ້ເຈົ້າຍຸຕິທັມມະທອນ(ຫຍຸຍ ນະ ຈຳປາສັກ) ອະດີດເຈົ້າຜູ້ຄອງນະຄອນຈຳປາສັກ ກ່ອນທີ່ຈະຕົກ ເປັນຫົວເມືອງຂຶ້ນຂອງຝຣັ່ງເສດ ໃຫ້ມີຖານະເປັນເຈົ້າຜູ້ຄອງນະຄອນອີກຄັ້ງໜຶ່ງ (ແທນການແຕງຕັ້ງຜູ້ວ່າຣາຊະການຈັງຫວັດ) ພຣະອົງໄດ້ຢູ່ ໃນຕຳແໜ່ງດັ່ງກ່າວເຖິງແກ່ພິຣາລັຍ ເມື່ອວັນທີ 2 ມິນາ ພ.ສ 2489 (ຄ.ສ 1946).

ເມືອງ Siriciempang ຢູ່ໃສ ?

- ເມືອງ Siriciempang ຢູ່ໃສ ? ໃນແຜນທີ່ເມືອງທີ່ຂຶ້ນກັບນະຄອນຈຳປາສັກ ເຊິ່ງສ້າງຕັ້ງຂຶ້ນໃນປີ ຄ.ສ 1713 ໂດຍແມ່ນພຣະຄຣູຂີ້ຫອມ ຫຼືພຣະຮາຊະຄຣູໂພນສະເມັກ ໄດ້ສ້າງຂຶ້ນນັ້ນ ໃນແຜນທີ່ປາກົດເຫັນຢູ່ບໍຣິເວນ ບ້ານທ່ານເປືອຍ ຫຼືບໍ່ກໍຢູ່ບ້ານທ່າໂພ ທ່ານໄຮ ແຄມນໍ້າຂອງ ຝັ່ງກຳປູເຈັຍປັດຈຸບັນ ຜູ້ຂຽນເຄີຍຍິນຊື່ນີ້ ບໍ່ຮູ້ວ່າຍິນຢູ່ໃສ ເມື່ອງມາເຫັນຊື່ເມືອງໃນແຜນທີ່ແລ້ວ ກໍຊອກຫາຂໍ້ມູນໃນທີ່ຕ່າງໆ ກໍບໍ່ເຫັນເລີຍ, ທ່ານຜູ້ໃນຮູ້ເມືອງ ທີ່ຫາຍສາບສູນນີ້ ກະຣູນາສົ່ງຂ່າວມາໃຫ້ອ່ານແນ່.
- ເມືອງ Siriciempang ຊື່ທີ່ປາກົດໃນອັກສອນຝຣັ່ງ ຢູ່ໃນແຜນທີ່ ແຕ່ຄົນລາວອາດຊິຮຽກວ່າ ສີຣິຈຳບັງ, ສີີຣິຈຽມປາງ ກໍອາດເປັນໄປໄດ້ ຢ່າງໃດກໍຕາມ ເມືອງດັ່ງກ່າວ ເລັ່ງຈຸດແລ້ວ ແມ່ນຢູ່ບໍຣິເວນ ຝັ່ງຕາເວັນຕົກຂອງແມ່ນໍ້າຂອງດິນຂະເໝນ ກົງກັນຂ້າມກັບ ດອນຂະເໝົາ ຫຼືດອນໂລງ, ດອນກະເດັນແຖວນີ້.